กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการชุมชนโคกมะเฟืองร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2561 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพันทิกา เพ็ชร์พรหม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนโคกมะเฟืองร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2487-2-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนโคกมะเฟืองร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนโคกมะเฟืองร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนโคกมะเฟืองร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2487-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,370.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปีงบประมาณ 2556 กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่มีชื่อว่า “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี” เป็นระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มปกติ/เสี่ยง/ป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประเทศไทย:นโยบายสู่การปฏิบัติสำหรับสถานบริการสุขภาพระดับ ปฐมภูมิฉบับนี้ได้ประยุกต์จากแนวคิดการคัดกรองประชาชน อายุ 15-65 ปีขึ้นไป ตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ภายใต้ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประเทศไทย : นโยบาย สู่ การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมให้พื้นที่นำสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างสอดคล้องเชื่อมโยงอย่างเหมาะสม สู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม โดยเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส. (ดื่มสุรา สูบบุหรี่) ในการควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็งซึ่งมีหลักการดำเนินงาน ดังนี้ ขั้นที่หนึ่งคัดกรองประชาชน อายุ 15-65 ปีขึ้นไป และจำแนกเป็น 7 สี/7 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ (สีขาว) กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) และกลุ่มป่วยต้องกินยาควบคุมอาการ ได้แก่ ป่วยระดับ 0 (สีเขียวเข้ม) ป่วยระดับ 1 (สีเหลือง) ป่วยระดับ 2 (สีส้ม) ป่วยระดับ 3 (สีแดง) และป่วยรุนแรงมีภาวะแทรกซ้อน เช่น ตา ไต เท้า (สีดำ) ขั้นที่สองดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส. (สุรา สูบบุหรี่) เพื่อควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็ง ขั้นที่สามกระบวนการสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสี่การติดตามประเมินผลจากระดับความสีที่ลดลงซึ่งลดความรุนแรงลง จากการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตและเบาหวาน ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ปีงบประมาณ 2560 ในพื้นที่หมู่ 1 บ้านโคกมะเฟือง พบกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 345 คน และพบกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 337 คน กลุ่มชมรมอสม. หมู่ 1 บ้านโคกมะเฟือง จึงเห็นความสำคัญถึงกระบวนการดังกล่าวที่จะส่งผลต่อการกระตุ้นความตระหนักในการติดตามความรุนแรงของโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนด้วยตนเอง โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม และมีรพ.สต.ศาลาใหม่ เป็นพี่เลี้ยงในการจัดการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ กลุ่มชมรมอสม. หมู่ 1 บ้านโคกมะเฟือง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชนและชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
  4. เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง
  2. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง
  3. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง
  4. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง
  5. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง
  6. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือวิถีชีวิตที่ก่อหรือเสริมการเป็นโรคได้ถูกต้องเหมาะสม
  2. อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตลดลง
  3. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานลดลง
  4. เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่ และประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง

วันที่ 20 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวัสดุทางการแพทย์ Test strip สำหรับตรวจน้ำตาลในเลือดกลุ่มเป้าหมาย 2 ครั้ง (กล่องละ 50 ชิ้น)              ๑,๐00.- บ.x 2 กล่อง = ๒,๐0๐.-บ. -  ค่าวัสดุทางการแพทย์เข็มเจาะปลายนิ้วแลนเซต (กล่องละ 100 ชิ้น) ๑๒0.- บ.x ๑ กล่อง = ๑๒๐.-บ. -  ค่าวัสดุทางการแพทย์เครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล        ๑,๐๐๐.- บ.x ๑ เครื่อง = ๑,๐๐๐.-บ.
  • ค่าวัสดุทางการแพทย์เครื่องตรวจความดันโลหิต    ๒,๕๐๐.- บ.x ๑ เครื่อง = ๒,๕๐๐.- บ.
  • ค่าจัดทำป้ายสติ๊กเกอร์ฟิวเจอร์บอร์ดปิงปอง 7 สี พร้อมติดตั้งกระดานไม้  ๒,500.-บ. x 1 ป้าย = ๒,๕๐๐.- บ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่ม/ชุมชน มีการรวมตัวกันและนัดหมายกลุ่มเป้าหมาย ๕๐ คน (เริ่มตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) อย่างน้อยทุกๆ ๑-๒ เดือนๆละ ๑ ครั้ง ในการเข้าร่วมกิจกรรมตรวจสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการของปิงปอง 7 สี หรือด้วยนวัตกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่อง  (ตรวจสุขภาพ : ตรวจความดันโลหิต (BP) ทุกๆ 1 เดือน และตรวจน้ำตาลในเลือด (FBS) ทุกๆ 3 เดือน)

 

50 0

2. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 3 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่ม/ชุมชน ร่วมกันจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (ตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) ในการร่วมถอดบทเรียนนำไปสู่เครือข่ายการเฝ้าระวังสุขภาพระดับชุมชนที่ยั่งยืน (ทุกๆ ๒ เดือน))

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย จำนวน 50 คน ร่วมกันถอดบทเรียน

 

50 0

3. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 7 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่ม/ชุมชน ร่วมกันจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (ตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) ในการร่วมถอดบทเรียนนำไปสู่เครือข่ายการเฝ้าระวังสุขภาพระดับชุมชนที่ยั่งยืน (ทุกๆ ๒ เดือน))

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย จำนวน 50 คน ร่วมกันถอดบทเรียน

 

50 0

4. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 2 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่ม/ชุมชน ร่วมกันจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (ตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) ในการร่วมถอดบทเรียนนำไปสู่เครือข่ายการเฝ้าระวังสุขภาพระดับชุมชนที่ยั่งยืน (ทุกๆ ๒ เดือน))

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่ม/ชุมชน ร่วมกันจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (ตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) ในการร่วมถอดบทเรียนนำไปสู่เครือข่ายการเฝ้าระวังสุขภาพระดับชุมชนที่ยั่งยืน (ทุกๆ ๒ เดือน))

 

50 0

5. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 4 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่ม/ชุมชน ร่วมกันจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (ตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) ในการร่วมถอดบทเรียนนำไปสู่เครือข่ายการเฝ้าระวังสุขภาพระดับชุมชนที่ยั่งยืน (ทุกๆ ๒ เดือน))

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย จำนวน 50 คน ร่วมกันถอดบทเรียน

 

50 0

6. กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 5 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่ม/ชุมชน ร่วมกันจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (ตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ม สีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ) ในการร่วมถอดบทเรียนนำไปสู่เครือข่ายการเฝ้าระวังสุขภาพระดับชุมชนที่ยั่งยืน (ทุกๆ ๒ เดือน))

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย จำนวน 50 คน ร่วมกันถอดบทเรียน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชนและชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่ม/ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย มีการรวมตัวกันตรวจสุขภาพ บันทึกผล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตัวเองผ่านกระบวนการของปิงปอง 7 สี หรือด้วยนวัตกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่องทุกๆ 1-2 เดือน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่ม/ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย มีการรวมตัวกันตรวจสุขภาพ บันทึกผล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตัวเองผ่านกระบวนการของปิงปอง 7 สี หรือด้วยนวัตกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่องทุกๆ1-2 เดือน
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
0.00

 

4 เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยสีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ มีการเปลี่ยนแปลงของสีที่ดีขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 50 ของคนที่เข้าร่วมทั้งหมด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชนและชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง (4) เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง (2) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (4) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (5) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง (6) กิจกรรมเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนโคกมะเฟืองร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2487-2-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพันทิกา เพ็ชร์พรหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด