กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า


“ โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

โรงพยาบาลตำบลทุ่งหว้า

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลทุ่งหว้า

ชื่อโครงการ โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ โรงพยาบาลตำบลทุ่งหว้า จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L8009-1-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลตำบลทุ่งหว้า

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลตำบลทุ่งหว้า รหัสโครงการ 61-L8009-1-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ ได้ร่วมมือดำเนินการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตั้งแต่ปี พ.ศ 2530 และดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม
สถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปีจังหวัดสตูลยังเป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง จังหวัดสตูลมีสถานการณ์ความรุนแรงของการเกิดโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นในทุกอำเภอ จากข้อมูลของสำนักงานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล พบว่าผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมทางระบาดวิทยา ในวันที่ 1 มกราคม 2560 – 31 ธันวาคม 2560 มีรายงานผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกทั้งหมด 73 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 23.23 ต่อประชาการแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 2.74 มีการระบาดทุกอำเภอ อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ อำเภอทุ่งหว้า อัตราป่วยเท่ากับ 59.22 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา คืออำเภอท่าแพอำเภอมะนัง อำเภอเมืองอำเภอละงู อำเภอควนกาหลงอำเภอควนโดน อัตราป่วยเท่ากับ 45.56 , 45.11 , 21.33 , 12.72 , 8.78 และ 7.73 ต่อประชากรแสนคน อาชีพที่มีผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน จำนวนผู้ป่วย 33 รายพบมากในกลุ่มเด็กอายุ 15 – 24 ปี จำนวนผู้ป่วย 33 ราย รองลงมา คือ อายุ 5 – 9 ปีจำนวน10 คนอำเภอทุ่งหว้ามีผู้ป่วยจำนวน 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 59.22 ต่อประชากรแสนคนดังนั้นจึงต้องดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในโรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้งเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนัก รู้ถึงภัยอันตรายจากโรคไข้เลือดออก ซึ่งส่งผลร้ายต่อสุขภาพและชีวิต ที่สำคัญคือให้นักเรียนได้สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่บ้าน/ชุมชนเมื่อวิเคราะห์ค่าดัชนีทาง กีฏวิทยา จากการสุ่มประเมินของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล พบว่าค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ค่า HI , CI สูงกว่า
เป้าหมายที่กำหนด ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนและต่อเนื่องต่อไป จังหวัดสตูลมีลักษณะภูมิประเทศ แบบมรสุมเขตร้อนซึ่งจะมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในช่วงฤดูฝน เพราะง่ายต่อการแพร่พันธุ์ของยุงลายซึ่งพาหะนำโรคไข้เลือดออก
โรงพยาบาลทุ่งหว้ามีความเห็นที่จะให้นักเรียนทุกโรงเรียนในเขตเทศบาลทุ่งหว้าเป็นผู้มีบทบาทกระตุ้นเตือนชุมชน และร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน จึงได้ทำโครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออก ปี2561 เป็นกิจกรรมหนึ่งในโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยให้ครอบคลุมโรงเรียนระดับประถมศึกษาในเขตเทศบาลอำเภอทุ่งหว้ายุทธศาสตร์ของโครงการเน้นให้นักเรียนกำจัดลูกน้ำยุงลาย ในบ้าน โรงเรียนและชุมชนของตนและให้เกิดความร่วมมือกับหน่วยงานระดับท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่มีจุดเน้นอย่างชัดเจนต่อชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่หรือโรงเรียน เพื่อหวังผลในการลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายซึ่งส่งผลให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงจนเหลือน้อยที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ นักเรียน จำนวน 100 คน มีความรู้ ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสม
  2. ข้อที่2 เพื่อให้ นักเรียน จำนวน 100 คน มีกิจกรรมทำลายแหล่งพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียน
  3. ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ครูนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนตระหนัก มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย จนเป็นกิจวัตรทั้งที่บ้านโรงเรียน และชุมชน
    2. นักเรียนสามารถประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกัน ควบคุมโรคโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์
    3. โรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. โครงการสารวัตรปราบลูกนำ้ยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    โครงการ สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออกเครือข่ายโรงเรียนในเขตโรงพยาบาลทุ่งหว้าตำบลทุ่งหว้าอำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ นักเรียนจำนวน๑๐๐คน มีความรู้ ความเข้าใจโรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสมมีกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียน โดยดำเนินโครงการในวันพุธ ที่๒๘กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนทั้งสิ้น ๑๐๒ คน สำหรับผลการดำเนินจัดโครงการสรุปได้ดังนี้ ๑.๑ การประเมินความรู้จากแบบทดสอบความรู้ ก่อน-หลัง อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ผู้จัดทำโครงการได้จัดทำแบบทดสอบเพื่อประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบทดสอบประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน ๑๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ซึ่งผลสรุปจากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังดังนี้ ตารางที่ ๑ แสดงการประเมินความรู้ก่อน และหลังการอบรมให้ความรู้ คะแนนที่ได้/จำนวนนักเรียน การทดสอบความรู้ คะแนนเต็มการทดสอบความรู้๑๐คะแนน/คน ๙คะแนน/คน๘คะแนน/คน ๗คะแนน/คน ๖คะแนน/คน ๕คะแนน/คน ๔คะแนน/คน๓คะแนน/คน ๒คะแนน/คน ๑ คะแนน/คน ก่อน ๑๐๐๑๐ ๒๒๑๔๗๓๗ ๖๓ ๐๑ หลัง ๑๐ ๒๑ ๑๗ ๓๒๑๑๗๓ ๔๓ ๒๐ ตารางที่ ๒ แสดงการประเมินความรู้ก่อน และหลังการอบรมให้ความรู้ การทดสอบความรู้ คะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด คะแนนค่าเฉลี่ยค่าร้อยละ ก่อน ๑๐ ๙ ๑ ๖.๒๕๖๒.๕๐ หลัง๑๐๑๐ ๒ ๗.๘๒๗๘.๒๐ ๑.๒ การประเมินผลของแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายจากการเดินรณรงค์สำรวจลูกน้ำ ของ สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ก่อน – หลังทำโครงการ โดยมีกิจกรรมการเดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จึงได้มีการประเมินผลจากค่าCI I ซึ่งผลจากการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายก่อนและหลังทำโครงการดังนี้ ตารางที่ ๓แสดงผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ระยะการสำรวจ จำนวนโรงเรียนที่สำรวจ จำนวนภาชนะที่สำรวจจำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำ ค่า CI ก่อนทำโครงการ ๓๑๑๗ ๑๔๑๑.๙๖ หลังทำโครงการ ๓๑๐๑๑ ๐.๙๙ ผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายก่อนทำโครงการพบว่ามี ค่า CIเท่ากับ ๑๑.๙๖ และหลังทำโครงการพบว่า มีค่าCIเท่ากับ ๐.๙๙ สรุปได้ว่าผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายหลังทำโครงการลดลงการฝึกทักษะการลงข้อมูลหลังการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายให้เกิดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่โรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียน อย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์ นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับสมุดบันทึกคู่มือรณรงค์ปราบลูกน้ำยุงลาย โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติในการปราบลูกน้ำยุงลาย - รับสมุดบันทึกกิจกรรมจากครู - กรอกชื่อ ชั้น โรงเรียน ชื่อครูประจำชั้น ชื่อผู้ปกครอง - ทุกวันศุกร์ นำสมุดกลับบ้านแจ้งให้ผู้ปกครองรับทราบ - ปฏิบัติการออกสำรวจภาชนะที่มีน้ำขัง บริเวณบ้าน ตรวจดูลูกน้ำ ถ้าพบให้ทำลายทันทีทุกภาชนะ - นำข้อมูลที่ได้ทำการสำรวจมากรอกในแบบฟอร์ม - นำแบบฟอร์มให้ผู้ปกครองเซ็นต์รับทราบ -นำสมุดแบบฟอร์มกลับมาให้ครูเซ็นต์รับรองในวันจันทร์ ๑.๓ ผลจากการทำแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑จำนวน๑๐๐ชุด ดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ระดับความพึงใจ ความพึงพอใจมากที่สุด (๕)มาก (๔) ปานกลาง(๓)น้อย(๒) น้อยที่สุด (๑) ค่า( x ) แปลผล
    สถานที่จัดกิจกรรม ๘๐ ๑๖๔๐ ๐๔.๓๒มาก ความพร้อมในการจัดกิจกรรม๖๗ ๒๓ ๑๐๐ ๐ ๔.๕๗ มากที่สุด ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ๖๘๒๖๓๒ ๐ ๔.๕๗ มากที่สุด การบริการอาหารและเครื่องดื่ม๗๑ ๒๘๑ ๐ ๐ ๔.๕๐ มาก วิทยากรอบรมให้ความรู้๗๔๑๗๙ ๐ ๐ ๔.๖๕ มากที่สุด กิจกรรมนันทนาการ๗๙๑๙ ๒ ๐ ๐ ๔.๗๗ มากที่สุด ความประทับใจที่ได้เข้าร่วมโครงการ๖๘๒๓๙ ๐ ๐ ๔.๕๙ มากที่สุด ภาพรวมของกิจกรรมทั้งหมด ๘๐๑๕ ๕ ๐ ๐ ๔.๗๕ มากที่สุด เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจ
    ค่าเฉลี่ย แปลค่า ๔.๕๑ – ๕.๐๐มากที่สุด ๓.๕๑ – ๔.๕๐มาก ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ปานกลาง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ น้อย ๑.๐๐ – ๑.๕๐น้อยที่สุด สรุปผล จากแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๑คิดเป็น ๔.๗๕อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด ในการจัดทำโครงการ ครูอนามัยโรงเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และนักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี สนใจฟังในเนื้อหาวิชาการและมีความสนุกสนานในการถาม-ตอบมีรางวัล จากผลการติดตามโครงการ 1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ 1.2. จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๑๐๒คน 2.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้การอนุมัติ ๑๙,๗๗๐บาท งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง๑๙,๗๗๐ บาท งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 0บาท 3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี 1. ปัญหา/ อุปสรรค (ระบุ)
    - การประสานงานในการดำเนินกิจกรรมเกิดความล่าช้าเนื่องจากแต่ละโรงเรียนมีกิจกรรมไม่พร้อมกัน - ระยะเวลาในการทำโครงการใกล้ช่วงเด็กๆ ปิดเทอม และทางโรงเรียนมีกิจกรรมหลายอย่าง 2. ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครู  นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนตระหนัก มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย จนเป็นกิจวัตรทั้งที่บ้าน  โรงเรียน และชุมชน
    2. นักเรียนสามารถประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการป้องกัน ควบคุมโรคโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์
    3. โรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย

     

    100 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการ สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออกเครือข่ายโรงเรียนในเขตโรงพยาบาลทุ่งหว้าตำบลทุ่งหว้าอำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ นักเรียนจำนวน๑๐๐คน มีความรู้ ความเข้าใจโรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสมมีกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียน โดยดำเนินโครงการในวันพุธ ที่๒๘กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวนทั้งสิ้น ๑๐๒ คน สำหรับผลการดำเนินจัดโครงการสรุปได้ดังนี้ ๑.๑ การประเมินความรู้จากแบบทดสอบความรู้ ก่อน-หลัง อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ผู้จัดทำโครงการได้จัดทำแบบทดสอบเพื่อประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบทดสอบประเมินความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน ๑๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ซึ่งผลสรุปจากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังดังนี้ ตารางที่ ๑ แสดงการประเมินความรู้ก่อน และหลังการอบรมให้ความรู้ คะแนนที่ได้/จำนวนนักเรียน การทดสอบความรู้ คะแนนเต็มการทดสอบความรู้๑๐คะแนน/คน ๙คะแนน/คน๘คะแนน/คน ๗คะแนน/คน ๖คะแนน/คน ๕คะแนน/คน ๔คะแนน/คน๓คะแนน/คน ๒คะแนน/คน ๑ คะแนน/คน ก่อน ๑๐๐๑๐ ๒๒๑๔๗๓๗ ๖๓ ๐๑ หลัง ๑๐ ๒๑ ๑๗ ๓๒๑๑๗๓ ๔๓ ๒๐ ตารางที่ ๒ แสดงการประเมินความรู้ก่อน และหลังการอบรมให้ความรู้ การทดสอบความรู้ คะแนนเต็ม คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด คะแนนค่าเฉลี่ยค่าร้อยละ ก่อน ๑๐ ๙ ๑ ๖.๒๕๖๒.๕๐ หลัง๑๐๑๐ ๒ ๗.๘๒๗๘.๒๐ ๑.๒ การประเมินผลของแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายจากการเดินรณรงค์สำรวจลูกน้ำ ของ สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ก่อน – หลังทำโครงการ โดยมีกิจกรรมการเดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จึงได้มีการประเมินผลจากค่าCI I ซึ่งผลจากการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายก่อนและหลังทำโครงการดังนี้ ตารางที่ ๓แสดงผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ระยะการสำรวจ จำนวนโรงเรียนที่สำรวจ จำนวนภาชนะที่สำรวจจำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำ ค่า CI ก่อนทำโครงการ ๓๑๑๗ ๑๔๑๑.๙๖ หลังทำโครงการ ๓๑๐๑๑ ๐.๙๙ ผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายก่อนทำโครงการพบว่ามี ค่า CIเท่ากับ ๑๑.๙๖ และหลังทำโครงการพบว่า มีค่าCIเท่ากับ ๐.๙๙ สรุปได้ว่าผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายหลังทำโครงการลดลงการฝึกทักษะการลงข้อมูลหลังการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายให้เกิดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่โรงเรียน บ้านและชุมชนของนักเรียน อย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์ นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับสมุดบันทึกคู่มือรณรงค์ปราบลูกน้ำยุงลาย โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติในการปราบลูกน้ำยุงลาย - รับสมุดบันทึกกิจกรรมจากครู - กรอกชื่อ ชั้น โรงเรียน ชื่อครูประจำชั้น ชื่อผู้ปกครอง - ทุกวันศุกร์ นำสมุดกลับบ้านแจ้งให้ผู้ปกครองรับทราบ - ปฏิบัติการออกสำรวจภาชนะที่มีน้ำขัง บริเวณบ้าน ตรวจดูลูกน้ำ ถ้าพบให้ทำลายทันทีทุกภาชนะ - นำข้อมูลที่ได้ทำการสำรวจมากรอกในแบบฟอร์ม - นำแบบฟอร์มให้ผู้ปกครองเซ็นต์รับทราบ -นำสมุดแบบฟอร์มกลับมาให้ครูเซ็นต์รับรองในวันจันทร์ ๑.๓ ผลจากการทำแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑จำนวน๑๐๐ชุด ดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ระดับความพึงใจ ความพึงพอใจมากที่สุด (๕)มาก (๔) ปานกลาง(๓)น้อย(๒) น้อยที่สุด (๑) ค่า( x ) แปลผล
    สถานที่จัดกิจกรรม ๘๐ ๑๖๔๐ ๐๔.๓๒มาก ความพร้อมในการจัดกิจกรรม๖๗ ๒๓ ๑๐๐ ๐ ๔.๕๗ มากที่สุด ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ๖๘๒๖๓๒ ๐ ๔.๕๗ มากที่สุด การบริการอาหารและเครื่องดื่ม๗๑ ๒๘๑ ๐ ๐ ๔.๕๐ มาก วิทยากรอบรมให้ความรู้๗๔๑๗๙ ๐ ๐ ๔.๖๕ มากที่สุด กิจกรรมนันทนาการ๗๙๑๙ ๒ ๐ ๐ ๔.๗๗ มากที่สุด ความประทับใจที่ได้เข้าร่วมโครงการ๖๘๒๓๙ ๐ ๐ ๔.๕๙ มากที่สุด ภาพรวมของกิจกรรมทั้งหมด ๘๐๑๕ ๕ ๐ ๐ ๔.๗๕ มากที่สุด เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจ
    ค่าเฉลี่ย แปลค่า ๔.๕๑ – ๕.๐๐มากที่สุด ๓.๕๑ – ๔.๕๐มาก ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ปานกลาง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ น้อย ๑.๐๐ – ๑.๕๐น้อยที่สุด สรุปผล จากแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลายต้านภัยไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๑คิดเป็น ๔.๗๕อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด ในการจัดทำโครงการ ครูอนามัยโรงเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และนักเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี สนใจฟังในเนื้อหาวิชาการและมีความสนุกสนานในการถาม-ตอบมีรางวัล จากผลการติดตามโครงการ 1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ 1.2. จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๑๐๒คน 2.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้การอนุมัติ ๑๙,๗๗๐บาท งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง๑๙,๗๗๐ บาท งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 0บาท 3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี 1. ปัญหา/ อุปสรรค (ระบุ)
    - การประสานงานในการดำเนินกิจกรรมเกิดความล่าช้าเนื่องจากแต่ละโรงเรียนมีกิจกรรมไม่พร้อมกัน - ระยะเวลาในการทำโครงการใกล้ช่วงเด็กๆ ปิดเทอม และทางโรงเรียนมีกิจกรรมหลายอย่าง 2. ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ นักเรียน จำนวน 100 คน มีความรู้ ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสมร้อยละ 80
    0.00 100.00

     

    2 ข้อที่2 เพื่อให้ นักเรียน จำนวน 100 คน มีกิจกรรมทำลายแหล่งพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : โรงเรียน จำนวน 3 โรง ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    0.00 100.00

     

    3 ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีค่า CI เท่ากับ 0
    0.00 100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ นักเรียน จำนวน 100 คน มีความรู้ ความเข้าใจ โรคไข้เลือดออก และการป้องกัน/ควบคุมโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสม (2) ข้อที่2 เพื่อให้ นักเรียน จำนวน 100 คน มีกิจกรรมทำลายแหล่งพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ที่โรงเรียน บ้าน และชุมชนของนักเรียน (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย ต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L8009-1-007

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลทุ่งหว้า )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด