กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอัมรันสะอะ

ชื่อโครงการ โครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2490-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำ/อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ (2) ข้อที่ 2เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน (3) ข้อที่ 3เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ โดยเน้นในเด็กและเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำ/ อสม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ (2) ผู้สูบบุหรี่ลดปริมาณการสูบลงจากเดิม -ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบได้มากกว่า ๖ เดือนได้อย่างน้อย ร้อยละ ๕๐ของผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ (3) เด็ก และเยาวชนในพื้นที่ตั้งใจที่จะไม่สูบบุหรี่อย่างน้อย ร้อยละ 80

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ช่วงเวลาที่จะทำกิจกรรมโครงการ มีงานอื่นที่เข้ามาเร่งด่วน จึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามเเผนงาน/โครงการที่วางไว้ (2) ควรโอนเงินโครงการให้เร็วกว่านี้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งพบว่า มีจำนวนผู้สูบบุหรี่ทั้งหมด ๑๑.๔ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๗ จากประชากรในประเทศไทยทั้งหมดมีผู้สูบบุหรี่เป็นประจำถึง ๑๐ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๒ และสูบเป็นครั้งคราว ๑.๔ ล้านคน ส่วนผู้ที่เคยสูบแต่เลิกแล้ว พบเพียง ๓.๗ ล้านคน ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำนั้น มากกว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ๖๑.๗) ของผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำ สูบบุหรี่มวนที่ผลิตจากโรงงาน รองลงมาสูบบุหรี่มวนเอง (ร้อยละ๕๕.๔) เมื่อพิจารณาอัตราการสูบบุหรี่ตามกลุ่มวัย พบว่ากลุ่มวัยทำงาน (๒๕-๕๙ปี) มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด (ร้อยละ๒๓.๕) รองลงมาคือกลุ่มวัยสูงอายุ (๖๐ปีขึ้นไป) และกลุ่มเยาวชน (๑๕-๒๔ปี) (ร้อยละ๑๖.๖และ๑๔.๗ตามลำดับ) นอกเขตเทศบาล มีอัตราของผู้ที่สูบบุหรี่สูงกว่าในเขตเทศบาล๑.๓เท่า (ร้อยละ๒๓.๐และ๑๘.๐ตามลำดับ) และเมื่อจำแนกรายภูมิภาค พบว่า ภาคใต้มีอัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น โดย มีจำนวนผู้สูบบุหรี่ทั้งหมด ๑.๙ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๑ จากประชากรทั้งหมด ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีจำนวน ๑.๘ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๓จากคนที่สูบบุหรี่ทั้งหมด รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ตามลำดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลาลา ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส รับผิดชอบทั้งหมด ๓ หมู่บ้านจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป จำนวน๒,๖๙๐ คน พบผู้ที่สูบบุหรี่ มีจำนวน๕๕๙คนร้อยละ ๒๐.๗๘ของประชากรที่สำรวจโดยผู้สูบส่วนใหญ่เป็นผู้สูบเป็นประจำทุกวันจากข้อมูลสุขภาพ พบว่า มีการเจ็บป่วยที่เกี่ยวเนื่องกับการสูบบุหรี่เป็นจำนวนมาก ได้แก่ COPD จำนวน ๓คน, ความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๗คนและเบาหวาน จำนวน ๔๒คน และจากปรากฏการณ์เชิงประจักษ์จะพบว่า วัยรุ่นสูบบุหรี่เป็นจำนวนมากส่วนหนึ่งเป็นผลจากการที่คนส่วนใหญ่/ผู้ใหญ่ในครอบครัวและชุมชนสูบบุหรี่ ทำให้วัยรุ่นเห็นว่าการสูบบุหรี่ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ อีกทั้งสามารถเข้าถึงได้ง่าย เนื่องจากร้านค้ายังมีการจำหน่ายแยกซองให้กับเด็ก และที่เป็นปัญหามากคือ บุหรี่มีราคาถูกเป็นบุหรี่หนีภาษีที่เข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งในระยะที่ผ่านมามีการรณรงค์การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่อยู่บ้าง หากแต่ยังขาดการทำงานเชิงรุกและลึกกับบุคคล ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลา จึงได้จัดทำโครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีภูมิคุ้มกัน/มีความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่ ได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ นอกจากนี้ยังเน้นการจัดบริการเชิงรุกเพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ได้เข้าถึงบริการ การจัดกิจกรรมให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นทั้งในและนอกโรงเรียนซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงทั้งนี้เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ อันจะลดผลกระทบต่อความสูญเสียอันเนื่องมาจากสูบบุหรี่ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ โดยจะลดอัตราการเจ็บป่วยและการตายจากโรคที่มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำ/อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่
  2. ข้อที่ 2เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
  3. ข้อที่ 3เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ โดยเน้นในเด็กและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.แกนนำ/ อสม.มีความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ สามารถแนะนำกลุ่มสูบบุหรี่สมัครเข้าคลีนิคเลิกบุหรี่ได้ ๒.เด็กและเยาวชนในพื้นที่ มีความรู้เรื่องโทษและพิษภัยของบุหรี่ และทักษะในการดูแลป้องกันตัวเอง จากบุหรี่ เพื่อป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ ๓. ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินงานโครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ปี 2561 ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลา ซึ่งมีกิจกรรมอบรมฟื้นฟูให้ควาใรู้เเก่เเกนนำ/อสม. เรื่องพิษภัยบุหรี่ เพื่อนำความรู้ไปเเนะนำกลุ่มเป้าหมายที่สูบบุหรี่ในเขตรับผิดชอบของตนเองลด ละ เลิกบุหรี่ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 262 คน เเละกิจกรรมสร้างความรู้ เเละความตระหนัดเกี่ยวกับโทษ เเละพิษภัยบุหรี่กับนักเรียนในโรงเรียนทั้งสองโรงเรียน คือ ผู้ปกครองในการลด ละ เลิกบุหรี่ มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 200 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำ/อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่
    ตัวชี้วัด : - แกนนำ/ อสม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่
    0.00 0.00

     

    2 ข้อที่ 2เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : -ผู้สูบบุหรี่ลดปริมาณการสูบลงจากเดิม -ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบได้มากกว่า ๖ เดือนได้อย่างน้อย ร้อยละ ๕๐ของผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่
    0.00

     

    3 ข้อที่ 3เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ โดยเน้นในเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : เด็ก และเยาวชนในพื้นที่ตั้งใจที่จะไม่สูบบุหรี่อย่างน้อย ร้อยละ 80
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 262
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 262
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำ/อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ (2) ข้อที่ 2เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน (3) ข้อที่ 3เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ โดยเน้นในเด็กและเยาวชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำ/ อสม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ (2) ผู้สูบบุหรี่ลดปริมาณการสูบลงจากเดิม -ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบได้มากกว่า ๖ เดือนได้อย่างน้อย ร้อยละ ๕๐ของผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ (3) เด็ก และเยาวชนในพื้นที่ตั้งใจที่จะไม่สูบบุหรี่อย่างน้อย ร้อยละ 80

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ช่วงเวลาที่จะทำกิจกรรมโครงการ มีงานอื่นที่เข้ามาเร่งด่วน จึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามเเผนงาน/โครงการที่วางไว้ (2) ควรโอนเงินโครงการให้เร็วกว่านี้

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ประจำปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 61-L2490-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอัมรันสะอะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด