โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ”
ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางรสนาบินหมาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย
ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค (2) 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล โดยในปี 2560 ตั้งแต่เดือนมกราคม 2560 ถึงธันวาคม 2560 ไม่มีผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก แต่ยังพบผู้ป่วยเข้าข่ายโรคไข้เลือดออกจำนวน 9ราย คิดเป็นอัตราป่วย 300.60 ต่อแสนประชากร จึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาด ช่วงการระบาดในช่วงเดือนมีนาคม–กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่ 1 พอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อ และการกระจายโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
จากผลการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดเชื้อไวรัสซิก้าในสถานศึกษาและชุมชนตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล...ปี 2560 พบว่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่ได้สุ่มสำรวจ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สำรวจ 3 ครั้ง ทั้งหมด 4 หมู่บ้านโดยครั้งที่ 3 พบหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์ ค่า HI ต่ำกว่า 10 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งหมด 2 หมู่บ้าน และยังมีอีก 2 หมู่ที่ยังมีค่า HI สูงกว่า 10 คือ หมู่ที่ 2 กับหมู่ที่ 3 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 50 ของหมู่บ้านทั้งหมด และจากผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ มัสยิด จำนวน 9 แห่ง พบว่ามีค่า CI = 0 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด งานควบคุมโรคติดต่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจันจึงตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
- ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด
- ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค
- 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (CI) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและความชุกของลูกน้ำยุงลาย ลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
- ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค
วันที่ 20 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ นำไปสู่แนวทางปฏิบัติการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
50
0
2. 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
50
0
3. 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 10 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ทีมพิชิตยุงลาย ออกสุ่มลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนและในโรงเรียน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 – เดือนสิงหาคม 2561
- บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ได้แก่
หมู่ที่ 1 คือบ้านเลขที่ 216 นส.รัศมีเดือน สะหลี
หมู่ที่ 2 คือบ้านเลขที่ 105 นายกอหรี ล่านุ้ย
หมู่ที่ 3 คือบ้านเลขที่ 186 น.ส.จันทรมาศ บูอีตำ
หมู่ที่ 4 คือบ้านเลขที่ 84 นางตีเยา หมัดสารี
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 – เดือนกันยายน 2561 มีผู้ป่วยยืนยันไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 33.36 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 133.46 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยโรคชิกุนคุนย่า จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 200.20 ต่อแสนประชากร จึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาดและลงสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจันอย่างต่อเนื่อง
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดย
ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ นำไปสู่แนวทางปฏิบัติการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจัน
ทีมพิชิตยุงลาย ออกสุ่มลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนและในโรงเรียน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 –
เดือนสิงหาคม 2561
บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ได้แก่
หมู่ที่ 1 คือบ้านเลขที่ 216 นส.รัศมีเดือน สะหลี
หมู่ที่ 2 คือบ้านเลขที่ 105 นายกอหรี ล่านุ้ย
หมู่ที่ 3 คือบ้านเลขที่ 186 น.ส.จันทรมาศ บูอีตำ
หมู่ที่ 4 คือบ้านเลขที่ 84 นางตีเยา หมัดสารี
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 – เดือนกันยายน 2561 มีผู้ป่วยยืนยันไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 33.36 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 133.46 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยโรคชิกุนคุนย่า จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 200.20 ต่อแสนประชากร จึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาดและลงสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจันอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1.ค่า HI (House Index) ดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบใน
หมูบานไม่เกินร้อยละ 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในบานที่ทําการสํารวจในพื้นที่)
2. ค่า BI (BreteauIndex)ดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน ไม่เกินร้อยละ 50 (จํานวนภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลายใน 100 หลังคาเรือน)
80.00
80.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด
ตัวชี้วัด : 1.ค่า CI (Container Index) คาดัชนีลูกน้ำยุงลายที่
พบในอาคารสถานที่และโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในภาชนะใสน้ำ) เป็น 0 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ
100.00
100.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
100.00
100.00
4
ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค (2) 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรสนาบินหมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ”
ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางรสนาบินหมาน
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค (2) 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล โดยในปี 2560 ตั้งแต่เดือนมกราคม 2560 ถึงธันวาคม 2560 ไม่มีผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก แต่ยังพบผู้ป่วยเข้าข่ายโรคไข้เลือดออกจำนวน 9ราย คิดเป็นอัตราป่วย 300.60 ต่อแสนประชากร จึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาด ช่วงการระบาดในช่วงเดือนมีนาคม–กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่ 1 พอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อ และการกระจายโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จากผลการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดเชื้อไวรัสซิก้าในสถานศึกษาและชุมชนตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล...ปี 2560 พบว่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่ได้สุ่มสำรวจ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สำรวจ 3 ครั้ง ทั้งหมด 4 หมู่บ้านโดยครั้งที่ 3 พบหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์ ค่า HI ต่ำกว่า 10 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งหมด 2 หมู่บ้าน และยังมีอีก 2 หมู่ที่ยังมีค่า HI สูงกว่า 10 คือ หมู่ที่ 2 กับหมู่ที่ 3 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 50 ของหมู่บ้านทั้งหมด และจากผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในสถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ มัสยิด จำนวน 9 แห่ง พบว่ามีค่า CI = 0 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด งานควบคุมโรคติดต่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจันจึงตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
- ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด
- ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค
- 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกิน 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
- ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (CI) เป็น ๐ ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ - อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและความชุกของลูกน้ำยุงลาย ลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
- ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค |
||
วันที่ 20 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ นำไปสู่แนวทางปฏิบัติการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
|
50 | 0 |
2. 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
|
50 | 0 |
3. 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดย
ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ นำไปสู่แนวทางปฏิบัติการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจัน
ทีมพิชิตยุงลาย ออกสุ่มลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนและในโรงเรียน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 –
เดือนสิงหาคม 2561
บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ได้แก่ หมู่ที่ 1 คือบ้านเลขที่ 216 นส.รัศมีเดือน สะหลี หมู่ที่ 2 คือบ้านเลขที่ 105 นายกอหรี ล่านุ้ย หมู่ที่ 3 คือบ้านเลขที่ 186 น.ส.จันทรมาศ บูอีตำ หมู่ที่ 4 คือบ้านเลขที่ 84 นางตีเยา หมัดสารี จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 – เดือนกันยายน 2561 มีผู้ป่วยยืนยันไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 33.36 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 133.46 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยโรคชิกุนคุนย่า จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 200.20 ต่อแสนประชากร จึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาดและลงสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจันอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ ตัวชี้วัด : 1.ค่า HI (House Index) ดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบใน หมูบานไม่เกินร้อยละ 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในบานที่ทําการสํารวจในพื้นที่) 2. ค่า BI (BreteauIndex)ดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน ไม่เกินร้อยละ 50 (จํานวนภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลายใน 100 หลังคาเรือน) |
80.00 | 80.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ตัวชี้วัด : 1.ค่า CI (Container Index) คาดัชนีลูกน้ำยุงลายที่ พบในอาคารสถานที่และโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในภาชนะใสน้ำ) เป็น 0 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร |
100.00 | 100.00 |
|
|
4 | ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค (2) 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ ชุมชนตำบลวังประจัน ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรสนาบินหมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......