โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุร์ฮายาตี แวและ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2561 ถึง 1 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2561 - 1 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของตำบลโคกเคียนและมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ปัจจัยสาเหตุของโรคเกิดจากการขาดการดูแลสุขภาพของตนเอง และการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา คือ โรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งมีอัตราการเสียชีวิตที่สูงขึ้นทุก ๆ ปี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลาย ๆมาตรการทุกรูปแบบในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและกระตุ้นเตือนให้เกิดการตระหนักตื่นตัวของประชาชนในทุกพื้นที่ โดยการตรวจคัดกรองและดูแลสุขภาพสื่อสารความเสี่ยงเตือนภัยในประชาชนกลุ่มเสี่ยงให้รับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงและอันตรายของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและร่วมมือกันดูแลสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรครวมถึงเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่าจะให้มีภาวะแทรกซ้อน จากผลการคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง อายุ๓๕ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบปีงบประมาณ ๒๕๖๐จำนวน ๒,๔๓๖ คน ร้อยละ๙๔.๐๑ พบผู้ป่วยเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑,๐๙๔ คนร้อยละ๔๗.๗๗ และพบผู้ป่วยรายใหม่ซึ่งได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ ๕๕รายร้อยละ ๒.๒๖ของกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียนเล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
- เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก
- ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
- เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
355
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง
๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง ต่อเนื่อง
๓. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก
วันที่ 10 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้ปฏิบัติงานออกค้าหากลุ่มเสี่ยง 6 หมู่บ้านๆ ละ 5 วันๆ ละ 25 บาท/คน จำนวน 10 คน เป็นเงิน 7,500
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค้าหากลุ่มเสี่ยง 6 หมู่บ้านๆ ละ 5 วันๆ ได้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงจำนวน 150 คน
150
0
2. ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
วันที่ 18 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1.2*3.0 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 900 บาท
- ค่าวัสดุในการจัดอบรม เป็นเงิน 8,500 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก
- ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 3 วันๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม
- ค่าวิทยากร 2 คน จำนวน 3 วันๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ผู้ป่วยรายใหม่
- ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 55 คน เป็นเงิน 2,750 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 55 คน เป็นเงิน 2,750 บาท
ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
- ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท
ผู้ป่วยรายเก่า
- ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ร้อยละ 100
355
0
3. เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง)
วันที่ 23 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 200 คน เป็นเงิน 5,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลง ร้อยละ 10
- อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ลดลง ร้อยละ 7
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย ได้รับความรู้ ร้อยละ ๑๐๐
100.00
2
เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : อัตราการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนใน ผู้ป่วย.เรื้อรัง(HT/DM),มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๖๐
60.00
3
เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลง ร้อยละ ๑๐
อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ลดลง ร้อยละ ๗
10.00
4
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
100.00
5
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
555
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
355
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก (2) ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย (3) เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนุร์ฮายาตี แวและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุร์ฮายาตี แวและ
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2561 ถึง 1 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2561 - 1 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของตำบลโคกเคียนและมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ปัจจัยสาเหตุของโรคเกิดจากการขาดการดูแลสุขภาพของตนเอง และการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา คือ โรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งมีอัตราการเสียชีวิตที่สูงขึ้นทุก ๆ ปี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลาย ๆมาตรการทุกรูปแบบในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและกระตุ้นเตือนให้เกิดการตระหนักตื่นตัวของประชาชนในทุกพื้นที่ โดยการตรวจคัดกรองและดูแลสุขภาพสื่อสารความเสี่ยงเตือนภัยในประชาชนกลุ่มเสี่ยงให้รับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงและอันตรายของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและร่วมมือกันดูแลสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรครวมถึงเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่าจะให้มีภาวะแทรกซ้อน จากผลการคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง อายุ๓๕ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบปีงบประมาณ ๒๕๖๐จำนวน ๒,๔๓๖ คน ร้อยละ๙๔.๐๑ พบผู้ป่วยเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑,๐๙๔ คนร้อยละ๔๗.๗๗ และพบผู้ป่วยรายใหม่ซึ่งได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ ๕๕รายร้อยละ ๒.๒๖ของกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียนเล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
- เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก
- ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
- เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 200 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 355 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง ต่อเนื่อง ๓. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้ปฏิบัติงานออกค้าหากลุ่มเสี่ยง 6 หมู่บ้านๆ ละ 5 วันๆ ละ 25 บาท/คน จำนวน 10 คน เป็นเงิน 7,500 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค้าหากลุ่มเสี่ยง 6 หมู่บ้านๆ ละ 5 วันๆ ได้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงจำนวน 150 คน
|
150 | 0 |
2. ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย |
||
วันที่ 18 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย - ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1.2*3.0 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 900 บาท - ค่าวัสดุในการจัดอบรม เป็นเงิน 8,500 บาท ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก - ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 3 วันๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม - ค่าวิทยากร 2 คน จำนวน 3 วันๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท ผู้ป่วยรายใหม่ - ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 55 คน เป็นเงิน 2,750 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 55 คน เป็นเงิน 2,750 บาท ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง - ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท ผู้ป่วยรายเก่า - ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 7,500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ ร้อยละ 100
|
355 | 0 |
3. เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง) |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำเยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 200 คน เป็นเงิน 5,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย ได้รับความรู้ ร้อยละ ๑๐๐ |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : อัตราการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนใน ผู้ป่วย.เรื้อรัง(HT/DM),มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ ๖๐ |
60.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลง ร้อยละ ๑๐ อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ลดลง ร้อยละ ๗ |
10.00 |
|
||
4 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน |
100.00 |
|
||
5 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 555 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 200 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 355 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมค้นหากลุ่มเสี่ยงเชิงรุก (2) ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย (3) เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม (6 หมู่ 6 ครั้ง)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L2492-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนุร์ฮายาตี แวและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......