กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ”
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสวาณีย์ เปาะเฮง




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-1-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2492-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง การใช้ชีวิตที่ต้องมีความเร่งรีบทำให้ประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลง ผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปพึ่งร้านจำหน่ายอาหารมากขึ้นถึงแม้ว่าที่ผ่านมาประเทศไทยได้มีการรณรงค์ ลด ละ เลิกการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแล้วก็ตาม แต่ก็ยังมีร้านอาหารจำนวนไม่น้อยที่มีการใช้ภาชนะโym]ฟมบรรจุอาหารเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยและทั่วโลก เนื่องจากสะดวก ราคาถูก และหาซื้อได้ง่าย ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความตระหนักของร้านค้าถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภค การใช้กล่องโฟมอย่างผิดประเภท เป็นสาเหตุใหญ่ที่ทำให้คนไทยเจ็บป่วยเป็นมะเร็งเพิ่มมากขึ้นทุกปี การรับประทานอาหารบรรจุกล่องโฟมทุกวัน วันละอย่างน้อย 1 มื้อ ติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี ก็จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งสูงกว่าคนปกติถึง 6 เท่า
โฟม (Foam) ที่ใช้โฟมที่ใช้ทำภาชนะบรรจุอาหารผลิตมาจากวัสดุโพลิเมอร์ชนิดโพลิสไตรีน(Polystyrene) การนำภาชนะโฟมมาบรรจุอาหารร้อนสูงหรือมีไขมันเป็นเวลานาน ทำให้โฟมเสียรูปทรงและอาจหลอมละลายจนมีสารเคมีปนเปื้อนมากับอาหารได้สารเคมีที่พบในโฟม ได้แก่ สารสไตรีน (Styrene)ซึ่งจัดอยู่ในสารก่อมะเร็งในกลุ่ม 2B (Carcinogen Group 2B) ก่อให้เกิดอันตรายเพิ่มความเสี่ยงของมะเร็งเต้านมในผู้หญิง มะเร็งต่อมลูกหมากในผู้ชายและมีโอกาสสูงต่อการเป็นมะเร็งตับ มีผลต่อสมองและเส้นประสาท ทำให้อ่อนเพลีย หงุดหงิดง่าย นอนหลับยาก ประจำเดือนมาไม่ปกติ สมองเสื่อมง่าย ความจำเสื่อม สมาธิสั้น ชาปลายมือปลายประสาทส่วนสารเบนซิน (Benzene)ที่มีอยู่ในกล่องโฟมจะละลายได้ดีในน้ำมัน ส่งผลต่อร่างกายมีความเป็นพิษสูงและเป็นสารก่อมะเร็ง ทำให้เกิดอาการวิงเวียน อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว ถ้าได้รับสารเป็นเวลานานทำให้เป็นโรคโลหิตจาง (Anemia) มะเร็งเม็ดเลือดขาว(Leukemia)นอกจากนี้ยังพบสารพทาเลท(Phthalate) เป็นสารที่มีพิษต่อระบบสืบพันธุ์ ทำให้เป็นหมันในผู้ชาย หญิงมีครรภ์อาจทำให้กำเนิดลูกที่มีอาการดาวน์ (Down Syndrome) ทำลายไตและระบบทางเดินอาหาร
นอกจากผลกระทบต่อสุขภาพแล้ว ภาชนะโฟม นั้นมีอายุการย่อยสลายยาวนานถึง 1,000 ปี ด้วยต้นทุนที่ไม่สูงมากนักและผลิตได้ครั้งละมากๆ ทำให้เกิดการใช้จนไม่เสียดาย เพราะใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ส่งผลให้ขยะจากพลาสติกเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่องในทุกปี โดยไทยมีปริมาณขยะพลาสติกและโฟมมากถึง 2.7 ล้านตัน หรือ เฉลี่ย 7,000 ตันต่อวัน แบ่งเป็นถุงพลาสติกร้อยละ 80 หรือ 5,300 ตันต่อวัน ส่วนที่เหลือเป็นขยะโฟมประมาณ 700,000 ตัน หากใช้วิธีฝังกลบจะใช้พื้นที่มากกว่าขยะปกติถึง 3 เท่า และมีสารตกค้างในสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก เกิดการปนเปื้อนของสารตกค้างในดินและน้ำ ส่งผลก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก สาเหตุของภาวะโลกร้อน หากยังคงมีการใช้ภาชนะโฟมต่อไปจะยิ่งเพิ่มปัญหาในการจัดการขยะที่เป็นปัญหาเรื้อรังของประเทศไทยยิ่งขึ้น จากสาเหตุดังกล่าวที่ทวีความรุนแรงต่อสังคมและคุณภาพชีวิตประชาชนไทยอย่างเห็นได้ชัดในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โรงพยาบาลกัลยาณิวัฒนาการุณย์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เล็งเห็นถึงความสำคัญและเป็นก้าวแรกของการรณรงค์ให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ หันกลับมาใช้บรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัยทดแทนการใช้โฟม เช่น การใช้กล่องอาหาร กล่องอาหารชานอ้อย เป็นต้น และให้เกิดความตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากกล่องโฟม ลดความเสี่ยงของปัญหาสุขภาพต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น และลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรและร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
  2. เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟม
  3. เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ กล่องโฟม ของนักศึกษา บุคลากร และร้านอาหาร ใน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
  4. เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค หันมาใช้กล่องอาหารที่ปลอดภัยแทนกล่องโฟม และเลือกซื้ออาหารจากร้านที่ปลอดกล่องโฟม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เพื่อลดการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรและร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
  2. ติดตามพฤติกรรมการใช้กล่องโฟม ของนักศึกษา บุคลากรแลร้านอาหารหลังการรณรงค์โครงการ
  3. จัดกิจกรรมรณรงค์โครงการลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของ ในกลุ่มนักศึกษา บุคลากร และร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของ นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ให้หันมาใช้บรรจุภัณฑ์ เช่น กล่องใส่อาหาร ปิ่นโต เป็นต้น แทนการใช้กล่องโฟม
  2. สามารถสร้างความตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ หลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากกล่องโฟม
  3. ร้านอาหารต่างๆ ภายในบริเวณมหาวิทยาลัย เกิดความตระหนักถึงอันตรายในการใช้บรรจุภัณฑ์อาการประเภทกล่องโฟม และหันมาใช้บรรจุภัณฑ์อื่นทดแทนกล่องโฟม
  4. สามารถเป็นแบบอย่างในการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมแก่ชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมรณรงค์โครงการลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของ ในกลุ่มนักศึกษา บุคลากร และร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าโปสเตอร์ “ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร”
ขนาด 21x29.7 ซม. จำนวน 40 แผ่น
แผ่นละ 30 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

2.ค่าถ่ายเอกสาร แผ่นพับให้ความรู้ จำนวน 100 แผ่น
แผ่นละ 3 บาท เป็นเงิน 300 บาท

    รวมเป็นเงิน 1,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสรานครินทร์หันมาใช้กล่องอาหารที่ปลอดภัยแทนกล่องโฟม จากการติดตามต่อเนื่อง ร้อยละ 60

 

150 0

2. ติดตามพฤติกรรมการใช้กล่องโฟม ของนักศึกษา บุคลากรแลร้านอาหารหลังการรณรงค์โครงการ

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถามประเมินติดตามพฤติกรรมการใช้กล่องโฟม จำนวน 150 ชุดๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 450 บาท
  2. ค่าป้ายสัญลักษณ์ร้านปลอดโฟมแก่ร้านที่ไม่มีการใช้ กล่องโฟม จำนวน 15 ใบ ใบละ 42 บาท เป็นเงิน 630 บาท
  3. ค่าเข้าเล่มโครงการ จำนวน 5 เล่ม เล่มละ 60 บาท เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสรานครินทร์หันมาใช้กล่องอาหารที่ปลอดภัยแทนกล่องโฟม จากการติดตามต่อเนื่อง ร้อยละ 60

 

150 0

3. ให้ความรู้เพื่อลดการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรและร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าจัดสถานที่ในการเปิดโครงการ เป็นเงิน 1,500 บาท
ดังนี้
-ค่าดอกไม้ตั้งโต๊ะ จำนวน 1 ช่อ เป็นเงิน 500 บาท -ค่าทำซุ้มโครงการ ขนาด 3x3 เมตร จำนวน 1 ซุ้ม เป็นเงิน 1,000 บาท 2.ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน คนละ 600 บาท/ชม.
เป็นเงิน 1,200 บาท 3.ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,700 บาท ดังนี้ -ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินก่อน/หลังอบรม
จำนวน 300 ชุด ชุดละ 2 บาท
เป็นเงิน 600 บาท -ค่าถ่ายเอกสารเอกสารประกอบการบรรยาย
จำนวน 150 ชุด ชุดละ 10 บาท
เป็นเงิน 1,500 บาท -ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ จำนวน 150 แผ่น
แผ่นละ 3 บาท เป็นเงิน 450 บาท -ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจ
จำนวน 150 ชุด ชุดละ 1 บาท
เป็นเงิน 150 บาท 4.ค่าจัดบอร์ดให้ความรู้ ขนาด 120x60 ซม.
จำนวน 4 ใบ ใบละ 580 บาท
เป็นเงิน 2,320 บาท
5.ค่าอุปกรณ์กล่องอาหารจำลองชนิดต่างๆ
เป็นเงิน 150 บาท ดังนี้ -กล่องโฟมใส่อาหาร จำนวน 5 กล่อง
กล่องละ 1 บาท เป็นเงิน 5 บาท - กล่องใส่อาหารแบบกระดาษ จำนวน 5 กล่อง กล่องละ 5 บาท เป็นเงิน 25 บาท -ชุดกล่องใส่อาหารไบโอชานอ้อย จำนวน 5 ชุด ชุดละ 20 บาท เป็นเงิน 100 บาท -กล่องใส่อาหารแบบพลาสติก จำนวน 4 ชุด ชุดละ 5 บาท เป็นเงิน 20 บาท 6.ค่าปากกา จำนวน 20 ด้าม ด้ามละ 5 บาท
เป็นเงิน 100 บาท 7.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 150 คน
คนละ 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 7,500 บาท 8.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 150 คน
ชุดละ 50 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท 9. ค่าถ่ายเอกสารแบบสอบถามสำรวจข้อมูลการใช้โฟม จำนวน 150 ชุด ชุดละ 3 บาท เป็นเงิน 450 บาท 10. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ
ขนาด 3x1 เมตร จำนวน 2 ผืน ผืนละ 600 บาท
เป็นเงิน 1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักศึกษา บุคลากร และร้านอาหารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ให้ความร่วมมือในการรณรงค์โดยการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ที่เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟม ร้อยละ 60

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรและร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
ตัวชี้วัด : นักศึกษา บุคลากร และร้านอาหารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ให้ความร่วมมือในการรณรงค์โดยการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟม
ตัวชี้วัด : นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟม ร้อยละ 60
0.00

 

3 เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ กล่องโฟม ของนักศึกษา บุคลากร และร้านอาหาร ใน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
ตัวชี้วัด : นักศึกษา บุคลากร และร้านอาหาร ในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ แสดงทัศนคติที่แสดงถึงความตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟม ร้อยละ 70
0.00

 

4 เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค หันมาใช้กล่องอาหารที่ปลอดภัยแทนกล่องโฟม และเลือกซื้ออาหารจากร้านที่ปลอดกล่องโฟม
ตัวชี้วัด : นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสรานครินทร์หันมาใช้กล่องอาหารที่ปลอดภัยแทนกล่องโฟม จากการติดตามต่อเนื่อง ร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรและร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์  (2) เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟม (3) เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ กล่องโฟม ของนักศึกษา บุคลากร และร้านอาหาร ใน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (4) เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค หันมาใช้กล่องอาหารที่ปลอดภัยแทนกล่องโฟม และเลือกซื้ออาหารจากร้านที่ปลอดกล่องโฟม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เพื่อลดการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรและร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (2) ติดตามพฤติกรรมการใช้กล่องโฟม ของนักศึกษา บุคลากรแลร้านอาหารหลังการรณรงค์โครงการ (3) จัดกิจกรรมรณรงค์โครงการลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของ ในกลุ่มนักศึกษา บุคลากร และร้านอาหารในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ลดการใช้กล่องโฟมเพื่อสุขภาพที่ดีของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2492-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัสวาณีย์ เปาะเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด