กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน ประจำปี 2560 ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ

ชื่อโครงการ โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2536-1-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน ประจำปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2536-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,848.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากปัญหางานคุ้มครองผู้บริโภคของอำเภอสุไหงโก-ลกพบว่าสถานประกอบการด้านอาหารไม่ว่าจะเป็น ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารมีการจำหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ร้านชำในชุมชน จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารที่เสื่อมสภาพหมดอายุ ไม่มี อย. เครื่องสำอางที่มีสารห้ามใช้ จำหน่ายยา อันตรายอีกทั้งในปัจจุบันมีการผลิต ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอาง อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพต่างๆ
ออกมาจำหน่ายมากมายมีการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านสื่อในรูปแบบต่างๆบางผลิตภัณฑ์มีการโฆษณาชวนเชื่อเกิน จริงทำให้ประชาชนเข้าใจผิดในสรรพคุณ ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลือกซื้อและบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ทำให้ผู้บริโภคมีโอกาสได้รับอันตรายจากการบริโภคได้กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้งานคุ้มครองผู้บริโภค กระจายลงสู่ชุมชน โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการ คุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนเพื่อดูแลประชาชนให้ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย มีมาตรฐานรองรับเป็นต้น

ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะจึงได้จัดทำโครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร
และร้านชำผ่านมาตรฐานขึ้นเพื่อดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร,แผงลอย จำหน่ายอาหารและร้านชำมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
  2. เพื่อพัฒนาให้ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่าย อาหารและร้านชำในชุมชนผ่านเกณฑ์ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐาน
  3. เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหาร และสินค้าที่จำหน่ายในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 76
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ประกอบการร้านอาหาร , แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาร้านของตนเอง
    2. ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำในตำบลปูโยะจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัย ต่อผู้บริโภค
    3. ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
    4. มีการเฝ้าระวังการโฆษณาเกินจริงโดยเครือข่ายในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร / แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ

    วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร / แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ หลังจากจัดอบรม ผู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ  มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค  คิดเป็นร้อยละ 84.84

     

    33 33

    2. กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    2.1 ดำเนินการตรวจประเมินร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน  ทั้งหมด  28  ร้าน  ผ่านเกณฑ์  จำนวน  24  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ  85.71
    2.2ดำเนินการตรวจร้านจำหน่ายก๋วยเตี๋ยวและแผงลอยจำหน่ายทั้งหมด  5  ร้าน  จากร้านทั้งหมด 6  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ  83.33 2.3 ดำเนินการตรวจสารปนปื้นในอาหาร รายละเอียดดังนี้ - ทดสอบตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียSI –2  จำนวน  50  ตัวอย่าง  พบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย  จำนวน  48  ตัวอย่าง  คิดเป็นร้อยละ  96.0
    - ทดสอบยีสและเชื้อราในอาหาร  จำนวน  2  ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนยีสและเชื้อราในอาหาร  จำนวน  1  ตัวอย่าง  คิดเป็นร้อยละ  50 - ทดสอบฟอร์มาลินในอาหารจำนวน  20  ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนฟอร์มาลินในอาหารคิดเป็นร้อยละ  100 - ทดสอบบอแรกซ์และสารเคมีในอาหารจำนวน  7  ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนบอแรกซ์และสารเคมีในอาหารคิดเป็นร้อยละ  100 - ทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์(สารฟอกขาว)  ในอาหาร  อาหาร  จำนวน  5  ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์(สารฟอกขาว)ในอาหารจำนวน  1  ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ  20.0 - ทดสอบหายาฆ่าแมลง จำนวน  5  ตัวอย่าง  ไม่พบการปนเปื้อนยาฆ่าแมลงคิดเป็นร้อยละ  100

     

    89 89

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร / แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ หลังจากจัดอบรม ผู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ  มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค  คิดเป็นร้อยละ 84.84  รายละเอียดดังนี้

    แบบทดสอบ จำนวน  20  ข้อ จำนวนผู้เข้าอบรม (คน)
    ‹10  คะแนน(ไม่ผ่าน)

    10 คะแนนขึ้นไป(ผ่าน)

        คน  ร้อยละ  คน  ร้อยละ
    

    ก่อนการอบรม 33 15 45.45 18 54.54 หลังการอบรม 33 5 15.15 28 84.84

    1. กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ 2.1 ดำเนินการตรวจประเมินร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน  ทั้งหมด  28  ร้าน  ผ่านเกณฑ์  จำนวน  24  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ  85.71
      2.2ดำเนินการตรวจร้านจำหน่ายก๋วยเตี๋ยวและแผงลอยจำหน่ายทั้งหมด  5  ร้าน  จากร้านทั้งหมด 6  ร้าน  คิดเป็นร้อยละ  83.33 2.3 ดำเนินการตรวจสารปนปื้นในอาหาร รายละเอียดดังนี้
      • ทดสอบตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียSI –2  จำนวน  50  ตัวอย่าง  พบการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย  จำนวน  48  ตัวอย่าง  คิดเป็นร้อยละ  96.0
      • ทดสอบยีสและเชื้อราในอาหาร  จำนวน  2  ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนยีสและเชื้อราในอาหาร  จำนวน  1  ตัวอย่าง  คิดเป็นร้อยละ  50
      • ทดสอบฟอร์มาลินในอาหารจำนวน  20  ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนฟอร์มาลินในอาหารคิดเป็นร้อยละ  100
      • ทดสอบบอแรกซ์และสารเคมีในอาหารจำนวน  7  ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนบอแรกซ์และสารเคมีในอาหารคิดเป็นร้อยละ  100
      • ทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์(สารฟอกขาว)  ในอาหาร  อาหาร  จำนวน  5  ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์(สารฟอกขาว)ในอาหารจำนวน  1  ตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ  20.0
      • ทดสอบหายาฆ่าแมลง จำนวน  5  ตัวอย่าง  ไม่พบการปนเปื้อนยาฆ่าแมลงคิดเป็นร้อยละ  100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร,แผงลอย จำหน่ายอาหารและร้านชำมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำมีความรู้อย่างน้อยร้อยละ 80

     

    2 เพื่อพัฒนาให้ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่าย อาหารและร้านชำในชุมชนผ่านเกณฑ์ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร ,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ ๘๐

     

    3 เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหาร และสินค้าที่จำหน่ายในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ CFGTร้อยละ ๘๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 76
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร,แผงลอย จำหน่ายอาหารและร้านชำมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค (2) เพื่อพัฒนาให้ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่าย อาหารและร้านชำในชุมชนผ่านเกณฑ์ประเมินตามเกณฑ์ มาตรฐาน (3) เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหาร และสินค้าที่จำหน่ายในพื้นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน ประจำปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2536-1-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด