กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2561 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรินทิพย์มุณีสว่างพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 318,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrahagic Fever) ยังเป็นปัญหาที่สำคัญด้านสาธารณสุข ซึ่งมีการระบาดในทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยทั้งในเขตเมืองและชนบท ทั้งนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการแพร่กระจายตัวของยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อไข้เลือดออก การควบคุมการระบาดเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยลงนั้น อยู่ที่การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และลดจำนวนประชากรยุงที่มีการติดเชื้อ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเป้าหมายแผนพัฒนาสุขภาพที่ ๑๐ ดำเนินงานโดยการลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกต่อประชากรแสนคนลดลงร้อยละ ๒๐ ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี จากข้อมูลการรายงานสถานการณ์พบว่า แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครสงขลา ยังมีการระบาดของโรคไข้เลือดออก (มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕60 เท่ากับ 169.76 ต่อประชากรแสนคน) เนื่องจากมีปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรค คือ ลักษณะของชุมชนเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น การจัดเก็บและการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม ทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะลูกน้ำยุงลายในชุมชน ประกอบกับในเขตเทศบาลนครสงขลา มีนักเรียน นักศึกษาจากต่างอำเภอ ต่างจังหวัด เข้ามาอาศัยเป็นจำนวนมาก ทำให้มีโอกาสเกิดการติดเชื้อจากผู้ป่วยจากต่างพื้นที่และแพร่ระบาดในเขตเทศบาลนครสงขลาได้อย่างรวดเร็ว การสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา พบว่ามีค่า HI = 14.67% และจากสถานการณ์ดังกล่าวอาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนและการท่องเที่ยวภายในเขตเทศบาลนครสงขลา งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ในเขตเทศบาลนครสงขลา โดยมีการกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน มีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่ง
  2. 2. เพื่อลดอัตราความชุมของลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI
  3. 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน ๑96 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,400
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๗. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ประชาชนและองค์กรต่าง ๆในชุมชนมีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย - ประชาชนเกิดความตระหนักและให้ความสำคัญในการรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ ยุงลาย - อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลง (ค่า HI


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.1 กิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายป้องกันโรค     ไข้เลือดออก 3.1.1 เสนอโครงการขอสนับสนุนงบประมาณ 3.1.2 ประชุมชี้แจงคณะทำงาน ผู้ที่เกี่ยวข้อง อสม. ในการดำเนินกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสกำจัด     และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.1.3 จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย จัดทำป้ายไวนิล นิทรรศการ เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการ     ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.1.4 แจกทรายอะเบทเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและแจกอุปกรณ์เพื่อทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมใน     ชุมชน 3.1.5 ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ อสม. และประชาชนในเขตเทศบาลนคร     สงขลา 3.1.6 จัดกิจกรรมรณรงค์ กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในเขตเทศบาลเพื่อสร้าง     กระแสให้ประชาชนและหน่วยงานต่างๆ มีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ     ยุงลาย ในวันที่ 27 มิถุนายน 2561 3.1.7 จัดการดูแลสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในชุมชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลาเพื่อทำลายแหล่ง     เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ๓.๑.๘ ขอความร่วมมือหน่วยงานราชการในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก   3.2 กิจกรรมกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3.2.1 ติดตามสถานการณ์โรคไข้เลือดออกและการรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก 3.2.2 ดำเนินการสอบสวนภายใน 24 ชั่วโมง หลังได้รับแจ้งผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและรายงานผลการ     สอบสวนโรค 3.2.3 ดำเนินการพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ ในบ้านและบริเวณรอบบ้าน     ผู้ป่วยเพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก 3.2.4 ดำเนินการพ่นสารเคมีกำจัดยุงก่อนเปิดภาคเรียน 2 ครั้ง ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.2.5 ดำเนินการพ่นสารเคมีกำจัดยุงแบบปูพรมในพื้นที่ระบาด 2 ครั้ง 3.2.๖ กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยวิธีการทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมี 3.2.๗ แจกทรายอะเบทเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายให้แก่ชุมชนและหน่วยงานราชการ 3.2.๘ ให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3.2.๙ ประสานงานกับ อสม. ในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน   3.๓ กิจกรรมประกวดชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก 3.๓.1 ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ ผู้ที่เกี่ยวข้องและ อสม. ในการประเมินชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก     3.๓.2 กำหนดเกณฑ์การประเมินชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย     3.๓.๓ สุ่มสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน     3.๓.๔ สรุปผลการประเมินชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก     3.๓.๕ มอบรางวัลเพื่อสนับสนุนชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย 7 PCU ได้แก่ 1. ชุมชนภราดร PCU พานิชย์สร้างสุข 2. ชุมชนแหลมทราย PCU สมิหลา 3. ชุมชนกุโบร์ PCU กุโบร์รวมใจ 4. ชุมชนวชิราซอยคู่ PCU ชลาทัศน์ 5. ชุมชนสินไพบูลย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 6. ชุมชนท่าสะอ้าน ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 7. ชุมชนมัสยิดบ้านบน PCU ใจกลางเมือง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน มีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่ง
    ตัวชี้วัด : 1. อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI
    0.00 9.42

    อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายใน ชุมชน ภายในเขตเทศบาล
    ค่า HI = 9.45

    2 2. เพื่อลดอัตราความชุมของลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI
    ตัวชี้วัด : 2. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่า ๑96ต่อประชากรแสนคน
    0.00 137.20

    จำนวนผู้ป่วยภายในเขตเทศบาลนคร สงขลา มีจำนวน 118 ราย คิดเป็นค่า อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกภายใน เขตเทศบาลนครสงขลา 137.20 ต่อ ประชากรแสนคน

    3 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน ๑96 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบ
    ตัวชี้วัด : 3. ไม่มีอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
    0.00 0.00

    ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
    ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3400
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,400
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน มีส่วนร่วมในการกำจัดและทำลายแหล่ง (2) 2. เพื่อลดอัตราความชุมของลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI (3) 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน ๑96 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพิชิตยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกและควบคุมโรคอุบัติใหม่ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศรินทิพย์มุณีสว่างพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด