โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางศริทิพย์มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,575.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย โดย พ.ศ.2558 องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรงระดับโลก ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน พบมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 120,000 ราย หรือคิดเป็น 171 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งในจำนวนดังกล่าวมีผู้ป่วยเสียชีวิต 12,000 ราย รวมทั้งมีปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานคาดปีละ 2,200 ราย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีผู้สูงอายุมากขึ้น มีการเคลื่อนย้ายแรงงานเพิ่มขึ้น โดยผู้ป่วยวัณโรคเกินกว่าครึ่งหนึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย (แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ, 2560) ประเทศไทยมีอัตราป่วยวัณโรครายใหม่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก 1.3 เท่า มีผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงาน ร้อยละ 59 ของที่คาดประมาณเท่านั้น ซึ่งสะท้อนถึงการที่ผู้ป่วยส่วนหนึ่งเข้าถึงการรักษาล่าช้าหรือเข้าไม่ถึง ทำให้แพร่กระจายเชื้อในชุมชน และทำให้แต่ละปีอัตราป่วยคาดประมาณลดลงได้เพียงช้า ๆ เท่านั้น การจะบรรลุเป้าหมาย SDGs และ End TB ประเทศไทยจำเป็นต้องมีการดำเนินงานในทิศทางใหม่เพื่อสามารถยุติปัญหาวัณโรคอย่างจริงจัง ก่อนที่สถานการณ์ทวีความรุนแรงจนไม่สามารถควบคุมและรักษาด้วยยาสูตรพื้นฐานได้ วัณโรคเป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจ ซึ่งสามารถแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็ว โดยสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยยังมีแนวโน้มที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด และต้องควบคุมตามหลักการควบคุมวัณโรคโดยเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคและนำเข้าสู่การดูแลรักษาให้หายและกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษา มากกว่าร้อยละ 90 แนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยาต่อหน้าทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS ( Directly Observed Treatment System) ซึ่งองค์การอนามัยโลก(WHO)ได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใช้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจนกระทั่งหายขาด ไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรคและการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป
จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคในเขตเทศบาลนครสงขลา ในปี พ.ศ.2560 พบว่ามีผู้ป่วยจำนวน 85 ราย แยกเป็นผู้ป่วย M+ จำนวน 47 ราย ผู้ป่วย M- จำนวน 35 ราย ผู้ป่วย MDR จำนวน 3 ราย มีผู้ป่วยที่ขาดยาทั้งหมด 3 ราย ซึ่งในปี 2561 อาจมีแนวโน้มการระบาดของโรคกระจายไปทุกพื้นที่ในเขตเทศบาลนครสงขลา
ดังนั้น เพื่อสร้างความตระหนักในระดับชุมชนและร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาวัณโรคให้ลดน้อยลง งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเทศบาลนครสงขลา ได้ให้ความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรควัณโรค และตระหนักถึงความสำคัญเร่งรัดดำเนินการโครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคโดยการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และการใช้วิธี DOT ในระดับชุมชน ไม่ให้แพร่กระจายและติดต่อผู้อื่นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
- 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
- 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
155
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.๑ ระบบคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนได้รับการพัฒนาและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
9.2 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
9.3 ชุมชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันวัณโรคอย่างจริงจัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3.1 จัดทำโครงการเพื่อพิจารณาเห็นชอบและอนุมัติให้ดำเนินการ
3.2 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ เพื่อชี้แจง/ติดตามประเมินผลโครงการ
3.3 แต่งตั้งคณะทำงานควบคุมวัณโรค
3.4 พัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและควบคุมวัณโรค
3.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้ป่วยกับผู้ดูแล และ อสม.ในชุมชน โดยใช้สื่อการเฝ้าระวังติดตาม
ผู้ป่วย
3.6 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยแกนนำ อสม.ทุกเดือน เดือนที่ 1-2 เยี่ยม 2 ครั้ง เดือนที่ 3-6 เยี่ยม
เดือนละ 1 ครั้ง รวมทั้งหมด 8 ครั้ง พร้อมทั้งติดตามดูแลในเรื่องการรับประทานยาของผู้ป่วย
3.7 ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่จากผู้สัมผัสร่วมบ้าน (กลุ่มเสี่ยง) โดยแกนนำ อสม.
3.8 สรุปผลการดำเนินงานโครงการและประเมินผลการดำเนินงาน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ตัวชี้วัด : 3.๑ การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการและชุมชน มากกว่าร้อยละ 90
0.00
30.20
การดำเนินการค้นหาผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงยังไม่
ครอบคลุมทุกกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 30.2
2
2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ตัวชี้วัด : 3.2 อัตราสำเร็จการรักษาหายขาดของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ มากกว่าร้อยละ 90
0.00
97.33
ผู้ป่วยทั้งหมด 75 ราย
- รักษาหาย 50 ราย
- กำลังรักษา 23 ราย
- ดื้อยา 2 ราย
คิดเป็นรักษาหายและกำลังรักษาปกติ ร้อยละ 97.33
3
2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ตัวชี้วัด : 3.3 อุบัติการณ์ของการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ไม่เพิ่มขึ้น
0.00
51.00
จำนวนการเกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก
ผู้ป่วยรายเก่า ปี 59-60 จำนวน 24 ราย
ผู้ป่วยรายใหม่ ปี 61 จำนวน 51 ราย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
155
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
155
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา (2) 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา (3) 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศริทิพย์มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางศริทิพย์มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,575.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย โดย พ.ศ.2558 องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรงระดับโลก ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน พบมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 120,000 ราย หรือคิดเป็น 171 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งในจำนวนดังกล่าวมีผู้ป่วยเสียชีวิต 12,000 ราย รวมทั้งมีปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานคาดปีละ 2,200 ราย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีผู้สูงอายุมากขึ้น มีการเคลื่อนย้ายแรงงานเพิ่มขึ้น โดยผู้ป่วยวัณโรคเกินกว่าครึ่งหนึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย (แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ, 2560) ประเทศไทยมีอัตราป่วยวัณโรครายใหม่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก 1.3 เท่า มีผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงาน ร้อยละ 59 ของที่คาดประมาณเท่านั้น ซึ่งสะท้อนถึงการที่ผู้ป่วยส่วนหนึ่งเข้าถึงการรักษาล่าช้าหรือเข้าไม่ถึง ทำให้แพร่กระจายเชื้อในชุมชน และทำให้แต่ละปีอัตราป่วยคาดประมาณลดลงได้เพียงช้า ๆ เท่านั้น การจะบรรลุเป้าหมาย SDGs และ End TB ประเทศไทยจำเป็นต้องมีการดำเนินงานในทิศทางใหม่เพื่อสามารถยุติปัญหาวัณโรคอย่างจริงจัง ก่อนที่สถานการณ์ทวีความรุนแรงจนไม่สามารถควบคุมและรักษาด้วยยาสูตรพื้นฐานได้ วัณโรคเป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจ ซึ่งสามารถแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็ว โดยสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยยังมีแนวโน้มที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด และต้องควบคุมตามหลักการควบคุมวัณโรคโดยเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคและนำเข้าสู่การดูแลรักษาให้หายและกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษา มากกว่าร้อยละ 90 แนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยาต่อหน้าทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS ( Directly Observed Treatment System) ซึ่งองค์การอนามัยโลก(WHO)ได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใช้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจนกระทั่งหายขาด ไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรคและการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคในเขตเทศบาลนครสงขลา ในปี พ.ศ.2560 พบว่ามีผู้ป่วยจำนวน 85 ราย แยกเป็นผู้ป่วย M+ จำนวน 47 ราย ผู้ป่วย M- จำนวน 35 ราย ผู้ป่วย MDR จำนวน 3 ราย มีผู้ป่วยที่ขาดยาทั้งหมด 3 ราย ซึ่งในปี 2561 อาจมีแนวโน้มการระบาดของโรคกระจายไปทุกพื้นที่ในเขตเทศบาลนครสงขลา ดังนั้น เพื่อสร้างความตระหนักในระดับชุมชนและร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาวัณโรคให้ลดน้อยลง งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเทศบาลนครสงขลา ได้ให้ความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรควัณโรค และตระหนักถึงความสำคัญเร่งรัดดำเนินการโครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคโดยการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และการใช้วิธี DOT ในระดับชุมชน ไม่ให้แพร่กระจายและติดต่อผู้อื่นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
- 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
- 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 155 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.๑ ระบบคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนได้รับการพัฒนาและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 9.2 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 9.3 ชุมชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันวัณโรคอย่างจริงจัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3.1 จัดทำโครงการเพื่อพิจารณาเห็นชอบและอนุมัติให้ดำเนินการ
3.2 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ เพื่อชี้แจง/ติดตามประเมินผลโครงการ
3.3 แต่งตั้งคณะทำงานควบคุมวัณโรค
3.4 พัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและควบคุมวัณโรค
3.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้ป่วยกับผู้ดูแล และ อสม.ในชุมชน โดยใช้สื่อการเฝ้าระวังติดตาม
ผู้ป่วย
3.6 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยแกนนำ อสม.ทุกเดือน เดือนที่ 1-2 เยี่ยม 2 ครั้ง เดือนที่ 3-6 เยี่ยม
เดือนละ 1 ครั้ง รวมทั้งหมด 8 ครั้ง พร้อมทั้งติดตามดูแลในเรื่องการรับประทานยาของผู้ป่วย
3.7 ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่จากผู้สัมผัสร่วมบ้าน (กลุ่มเสี่ยง) โดยแกนนำ อสม.
3.8 สรุปผลการดำเนินงานโครงการและประเมินผลการดำเนินงาน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ตัวชี้วัด : 3.๑ การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการและชุมชน มากกว่าร้อยละ 90 |
0.00 | 30.20 | การดำเนินการค้นหาผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงยังไม่ ครอบคลุมทุกกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 30.2 |
|
2 | 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ตัวชี้วัด : 3.2 อัตราสำเร็จการรักษาหายขาดของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ มากกว่าร้อยละ 90 |
0.00 | 97.33 | ผู้ป่วยทั้งหมด 75 ราย |
|
3 | 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ตัวชี้วัด : 3.3 อุบัติการณ์ของการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ไม่เพิ่มขึ้น |
0.00 | 51.00 | จำนวนการเกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นจาก ผู้ป่วยรายเก่า ปี 59-60 จำนวน 24 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ ปี 61 จำนวน 51 ราย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 155 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 155 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา (2) 2.2 เพื่อประเมินสถานการณ์วัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา (3) 2.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของวัณโรคภายในเขตเทศบาลนครสงขลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศริทิพย์มุณีสว่าง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......