ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุทิศา....สุวรรณมณี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากคำสอนของศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ยากต่อการส่งเสริมการคุมกำเนิด ทำให้อัตราการตั้งครรภ์สูง ส่งผลให้อัตราการตั้งครรภ์เสี่ยงในพื้นที่สูงเช่นกัน งานอนามัยแม่และเด็กจึงยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญจนถึงทุกวันนี้ ในอำเภอหนองจิกเองปีงบประมาณ 2560 ยังพบมารดาเสียชีวิตถึงสองราย จากสาเหตุที่ป้องกันได้ คือการตกเลือดหลังคลอด นอกจากนี้ยังพบการคลอดกับผดุงครรภ์โบราณทั้งที่มีความเสี่ยงสูง อัตราการมาฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานของประเทศทำให้ระยะเวลาในการดูแลก่อนคลอดมีน้อย ในด้านผดุงครรภ์โบราณได้มีการตกลงหาแนวทางร่วมกันกับผดุงครรภ์โบราณและกำหนดนโยบายและแผนงานเพื่อให้คลอดอย่างปลอดภัยและลดอัตราการคลอดกับผดุงครรภ์โบราณซึ่งจะนำเพิ่งนำมาใช้ กรกฎาคม 2560 และรอประเมินผลอยู่ แต่ภาวะซีดเรามีนโยบายต่างๆโดยเฉพาะการให้ความรู้มานานมากแต่ยังแก้ไขปัญหาไม่ได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาวะซีดหญิงตั้งครรภ์ส่งผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์เองและบุตรในครรภ์ตลอดระยะเวลาการตั้งครรภ์ ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ได้ถึง2เท่า สุขภาพทั่วไปอ่อนแอ อ่อนเพลียง่าย ภูมิต้านทานต่ำลงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย เพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักบุตรแรกคลอดน้อย ตกเลือดหลังคลอด(อุ่นใจ กออนันตกุล และคณะ,254๙) จึงอยากวิเคราะห์หาสาเหตุว่าจริงๆๆแล้วก่อนตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์มีภาวะซีดตั้งต้นอยู่เท่าไหร่ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากอะไร ในระยะตั้งครรภ์ต้องการวิเคราะห์สาเหตุรายบุคคล ให้ความรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละครอบครัวและติดตามอย่างใกล้ชิด เพื่อนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาของอำเภอหนองจิกต่อไป
๑.๒ สภาพปัญหา เมื่อทบทวนผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กตำบลตุยงปี ๒๕๕๙และปี ๒๕๖๐ พบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ยังมีถึง๒๑.๓%,๒๒.๕% ตามลำดับ หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ มีถึง ๒๖.๐๓%,๕๒% ตามลำดับ อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้งคิดเป็น ๘.๒๒%,๒๒% ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานของประเทศและปัญหาทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ประกอบกับอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ยังน้อยกว่า๘๐%
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
- เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
- เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
- จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. หญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีด
2. รู้สาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
3. เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคลโดยมีครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
วันที่ 27 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด พัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพในงานอนามัยแม่และเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มแกนนำสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด หญิงวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจ ในการเตรียมความพร้อมระหว่างตั้งครรภ์แลก่อนการตั้งครรภ์
100
0
2. จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก
วันที่ 2 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ มีความรู้เพิ่มขึ้น
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ๑๕-3๐ปีที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษาไม่ น้อยกว่า ๘๐
50.00
81.00
2
เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ ไม่เกินร้อยละ ๑๐
2. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ ไม่เกิน ร้อยละ๓๐
3. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้ง ไม่เกินร้อยละ๕๐
50.00
50.00
3
เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ตัวชี้วัด : ๑. หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ๑๕-3๐ปีที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษาไม่ น้อยกว่า ๘๐
2. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ ไม่เกินร้อยละ ๑๐
3. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ ไม่เกิน ร้อยละ๓๐
4. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้ง ไม่เกินร้อยละ๕๐
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี (2) เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ (3) เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (2) จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุทิศา....สุวรรณมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุทิศา....สุวรรณมณี
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากคำสอนของศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ยากต่อการส่งเสริมการคุมกำเนิด ทำให้อัตราการตั้งครรภ์สูง ส่งผลให้อัตราการตั้งครรภ์เสี่ยงในพื้นที่สูงเช่นกัน งานอนามัยแม่และเด็กจึงยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญจนถึงทุกวันนี้ ในอำเภอหนองจิกเองปีงบประมาณ 2560 ยังพบมารดาเสียชีวิตถึงสองราย จากสาเหตุที่ป้องกันได้ คือการตกเลือดหลังคลอด นอกจากนี้ยังพบการคลอดกับผดุงครรภ์โบราณทั้งที่มีความเสี่ยงสูง อัตราการมาฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานของประเทศทำให้ระยะเวลาในการดูแลก่อนคลอดมีน้อย ในด้านผดุงครรภ์โบราณได้มีการตกลงหาแนวทางร่วมกันกับผดุงครรภ์โบราณและกำหนดนโยบายและแผนงานเพื่อให้คลอดอย่างปลอดภัยและลดอัตราการคลอดกับผดุงครรภ์โบราณซึ่งจะนำเพิ่งนำมาใช้ กรกฎาคม 2560 และรอประเมินผลอยู่ แต่ภาวะซีดเรามีนโยบายต่างๆโดยเฉพาะการให้ความรู้มานานมากแต่ยังแก้ไขปัญหาไม่ได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาวะซีดหญิงตั้งครรภ์ส่งผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์เองและบุตรในครรภ์ตลอดระยะเวลาการตั้งครรภ์ ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ได้ถึง2เท่า สุขภาพทั่วไปอ่อนแอ อ่อนเพลียง่าย ภูมิต้านทานต่ำลงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย เพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักบุตรแรกคลอดน้อย ตกเลือดหลังคลอด(อุ่นใจ กออนันตกุล และคณะ,254๙) จึงอยากวิเคราะห์หาสาเหตุว่าจริงๆๆแล้วก่อนตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์มีภาวะซีดตั้งต้นอยู่เท่าไหร่ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากอะไร ในระยะตั้งครรภ์ต้องการวิเคราะห์สาเหตุรายบุคคล ให้ความรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละครอบครัวและติดตามอย่างใกล้ชิด เพื่อนำมาเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาของอำเภอหนองจิกต่อไป ๑.๒ สภาพปัญหา เมื่อทบทวนผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กตำบลตุยงปี ๒๕๕๙และปี ๒๕๖๐ พบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ยังมีถึง๒๑.๓%,๒๒.๕% ตามลำดับ หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ มีถึง ๒๖.๐๓%,๕๒% ตามลำดับ อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้งคิดเป็น ๘.๒๒%,๒๒% ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานของประเทศและปัญหาทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ประกอบกับอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ยังน้อยกว่า๘๐%
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
- เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
- เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
- จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. หญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีด 2. รู้สาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ 3. เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคลโดยมีครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด |
||
วันที่ 27 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด พัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพในงานอนามัยแม่และเด็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มแกนนำสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด หญิงวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจ ในการเตรียมความพร้อมระหว่างตั้งครรภ์แลก่อนการตั้งครรภ์
|
100 | 0 |
2. จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ มีความรู้เพิ่มขึ้น
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ๑๕-3๐ปีที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษาไม่ น้อยกว่า ๘๐ |
50.00 | 81.00 |
|
|
2 | เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ ตัวชี้วัด : 1. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ 2. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ ไม่เกิน ร้อยละ๓๐ 3. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้ง ไม่เกินร้อยละ๕๐ |
50.00 | 50.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล ตัวชี้วัด : ๑. หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ๑๕-3๐ปีที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษาไม่ น้อยกว่า ๘๐ 2. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ 3. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๑ แต่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่๒ ไม่เกิน ร้อยละ๓๐ 4. อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดทั้ง๒ครั้ง ไม่เกินร้อยละ๕๐ |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี (2) เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ (3) เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมี ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประเมิน ติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (2) จัดอบรมด้านโภชนาการและการรับประทานยาให้กับหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและครอบครัวและเครือข่ายแม่และเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะซีดในตำบลตุยง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุทิศา....สุวรรณมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......