กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมสุขาน่าใช้1 กรกฎาคม 2562
1
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนฯตำบลละงู
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม พัฒนาเด็กวัยเรียนระดับประถมศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการใช้ส้วมอย่างถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย ได้แก่ กิจกรรม big cleaning day ห้องส้วมป้องกันโรค จัดทำโครงการจุลินทรีย์พิทักษ์ส้วม จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์การใช้ส้วมอย่างถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาห้องส้วมให้สะอาด สวยงาม ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีจิตสำนึก การมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องส้วมร้อยละ 80 ของนักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส่วมที่ถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย (มากที่สุด)

กิจกรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ1 กรกฎาคม 2562
1
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนฯตำบลละงู
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร และลงมือฝึกทักษะปฏิบัติ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียกและผู้ปกครองร้อยละ 80 สามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและป้องกันโรคจากสมุนไพรได้

กิจกรรมโภชาการดีที่ห้วยมะพร้าว1 กรกฎาคม 2562
1
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนฯตำบลละงู
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบนมให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่เหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนกลุ่มเสี่ยงืั้มีภาวะทุพโภชนาการร้อยละ 80  มีภาวะโภชนาการสมส่วน (มากที่สุด)

กิจกรรมเด็กมะพร้าวยิ้มสวย1 กรกฎาคม 2562
1
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนฯตำบลละงู
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ความเป็นไปตามเป้าหมายของกิจกรรม (มากที่สุด) -บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่กำหนด (มากที่สุด) -ความรู้ความเข้าใจที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม (มากที่สุด) -ความสำเร็จตามตัวชี้วัด นักเรียนวัยเรียนระดับประถมศึกษาร้อยละ 90 มีสุขภาพช่องปากที่ดี (มากที่สุด) -ระยะเวลาขัดเจนดำเนินกิจกรรมได้ตามกำหนด (มากที่สุด) -ความร่วมมือของคณะทำงานผู้เกี่ยวข้องของกิจกรรม (มากที่สุด) -ความประทับใจในการจัดกิจกรรม/ควรจัดกิจกรรมซ้ำอีกในปีต่อไป (มากที่สุด)