กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา รหัสโครงการ 61-L2482-1-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ ละเลิกการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกินประชาชนในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านโคกมือบา ต.โฆษิต มีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง แต่ขาดการเฝ้าระวัง ขาดการป้องกัน การบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น บูดู ปลาเค็ม และเนื้อหมัก ซึ่งจะมีรสชาติที่เค็มมาก และยังนิยมบริโภคอาหารที่มีรสหวาน รสมัน และพฤติกรรมการบริโภคน้ำชา กาแฟ เป็นกิจวัตรประจำวัน ประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบและยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมรับประทานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด ขาดการป้องกันโรค รอจนป่วย แล้วค่อยเยียวยารักษา ขณะเดียวกันผู้ป่วยจำนวนไม่น้อย ยังไม่ตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ถูกตัดแขน ขา กลายเป็นผู้พิการ กลายเป็นผุ้ป่วยติดเตียง เป็นภาระแก่บุคคลในครอบครัว และชุมชน ซึ่งกลุ่มป่วยในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.โคกมือบา ทั้งสามหมู่บ้าน มีภาวะแทรกซ้อนในแต่ละปี เช่น ถูกตัดขา แผลเรื้อรัง มีภาวะของโรคหัวใจและหลอดเลือด กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง และยังมีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อย ที่รับการรักษาไม่ต่อเนื่อง รับประทานยาบ้าง ไม่รับประทานยาบ้าง หรือรับประทานยาแต่ไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีภาวะเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนต่างๆสูงมาก เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาเหล่านี้มาหลายปี แต่ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งกลุ่มผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงได้ จึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในประชาชน
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. เพื่อให้ผู้ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
  4. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ ไม่เกิน 50 คน
  2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  3. ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  5. ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ ไม่เกิน 50 คน

วันที่ 5 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้เรื่องสาเหตุของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่อง อันตรายของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่องแนวทางการรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางสาวมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  • ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  • ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

 

1,000 0

2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 5 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยนางสาวปรางมาศ จันทร์คง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส. โดยนางสาวมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่องปิงปองจราจรชีวิต 7 สี โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  • ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  • ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต จำนวน 891 คน คิดเป็นร้อยละ 98.56
  2. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองน้ำตาลในเลือดจำนวน 1,127 คนคิดเป็นร้อยละ 99.11
  3. ประชาชนอา่ยุ 35 ปี ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าวจำนวน 1,127 คน คิดเป็นร้อยละ 99.11
  4. ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 100
  5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองจำนวน 200 คน
  6. ประชาชนกลุ่มป่วย ได้ร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองจำนวน 150 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในประชาชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองไม่น้อยกว่า
90.00 98.56

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค
80.00 99.19

 

3 เพื่อให้ผู้ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 50 2. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้ง ร้อยละ 50 3. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการส่งพบแพทย์เพื่อรับการส่งพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องร้อยละ 80
80.00 99.19

 

4 เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคเรื่อรังได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องร้อยละ 80 2. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ลดลงร้อยละ 10
80.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในประชาชน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ผู้ตรวจคัดกรองพบภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง (4) เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ ไม่เกิน 50 คน (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด