กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ โครงการภาคีเข็มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561 ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรอาซลีนา สาแลแม

ชื่อโครงการ โครงการภาคีเข็มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8300-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการภาคีเข็มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการภาคีเข็มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการภาคีเข็มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8300-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ทั่วโลกส่งผลต่อการพัฒนาการและวิวัฒนาการของโรคต่างๆขึ้นมามากมาย โดยเฉพาะโรคติดต่อ / โรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นหรือโรคที่กลับมาเป็นใหม่ขึ้น ซึ่งโรคติดต่อเหล่านี้จะแพร่กระจายและระบาดทุกพื้นที่โดยใช้เวลาที่รวดเร็ว จากสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลแว้งในปีงบประมาณ 2560 สรุป 10 อันดับโรคดังนี้
ลำดับที่ ชื่อ-โรค จำนวนป่วย อัตราป่วยต่อแสน ประชากร 1. อุจจาระร่วง 247 1,771.88 2. ปอดบวม 33 236.73 3. ไข้หรือไข้ไม่ทราบสาเหตุ 27 193.69 4. สุกใส 24 172.17 5. โรคตาแดง 18 129.12 6. ไข้เลือดออก 643.04 7. ไข้หวัดใหญ่ 643.04 8. หัด 5 35.87 9. ไข้เดงกี่ 428.69 10. โรคมือเท้าปาก 428.69

จากอัตราป่วย 10 อันดับโรคของตำบลแว้งปี 2560 พบว่า ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงพบอัตราป่วยสูงที่สุด และยังคงเป็นโรคที่มีอัตราป่วยสูงสุดทุกปี ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อ และประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น โดยสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อำเภอแว้งในเรื่องของงานควบคุมโรค โรงพยาบาลแว้งร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ/ โรคอุบัติใหม่ ปี2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่/คอตีบ แก่ อสม. คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในพื้นที่
  2. จัดอบรมแกนนำควบคุมโรค อสม. อบต. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา
  3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามเด็กที่ป่วยด้วยวัคซีนรวมทั้งฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรค
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์โรคอุจจาระร่วง (ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย)โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม.ในหมู่บ้าน ตามร้านอาหารแผงลอย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้ง ลดลงตามเป้าหมายและตัวชี้วัด
  2. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  3. ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมแกนนำควบคุมโรค อสม. อบต. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา

วันที่ 5 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การจัดโครงการในครั้งนี้ได้เชิญนักวิชาการสาธารณสุขมามอบความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลแว้งและให้ความรู้เรื่องสถานณการณ์ของโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่พร้อมให้ผู้เข้าร่วมถอดบทเรียนเรื่องโรคที่เป็นปัญหาและบอกวิธีการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าวและนำเสนอเป็นกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินงานโครงการในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่านได้รับความรุ้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

 

50 0

2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามเด็กที่ป่วยด้วยวัคซีนรวมทั้งฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรค

วันที่ 6 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การจัดโครงการในครั้งนี้ ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน/รณรงค์ในพื้นที่ร่วมกับอสม. ในการติดตามเด็กที่วัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์การจัดโครงการในครั้งนี้ ได้เชิญนักวิชาการสาธารณสุขมามอบความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อที่ระบาดที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ ซึ่งโครงการนี้ได้มีการดำเนินงาน 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นการอบรมให้ความรู้และขั้นตอนที่ 2 รณรงค์ในพื้นที่ร่วมกับอสม. ในการติดตามเด็กที่วัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินโครงการในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป้นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

 

50 0

3. จัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์โรคอุจจาระร่วง (ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย)โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม.ในหมู่บ้าน ตามร้านอาหารแผงลอย

วันที่ 17 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การจัดโครงการในครั้งนี้ ได้จัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคอุจจาระร่วง(ร้านอาหารสะอาดบริโภคปลอดภัย) ในพื้นที่ตำบลแว้ง โดยได้ดำเนินการรณรงค์ทุกหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลแว้ง ตามร้านอาหาร แผงลอยในชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคอุจจาระร่วง โดยได้ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่สะอาด ปรุงสุกใหม่ๆและเลือกซื้ออาหารที่ร้านอาหารที่สะอาด มีสินค้าสดๆใหม่ๆไว้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินโครงการในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับประชาชนทุกหมู่บ้านได้รับความรู้ให้อย่างเต็มที่และสามารถเลือกซื้อและรับประทานอาหารที่ถูกต้องต่อไป

 

60 0

4. จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่/คอตีบ แก่ อสม. คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในพื้นที่

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่/คอตีบในกลุ่ม อสม. ผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไป และการดำเนินงงานโครงการครั้งนี้ได้เชิญ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการมามอบความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่/คอตีบ ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินงานโครงการครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ หากไม่ได้รับการแก้ไขและประชาชนไม่ได้มีความตระหนักในปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคที่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดแพร่ระบาดของโรคมากขึ้นและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและชุมชนที่เกิดโรคติดต่อขึ้นในบริเวณกว้าง ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อและประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561และการดำเนินโครงการในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งลดลงร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วย ด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (3) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่/คอตีบ แก่ อสม. คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในพื้นที่ (2) จัดอบรมแกนนำควบคุมโรค อสม. อบต. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามเด็กที่ป่วยด้วยวัคซีนรวมทั้งฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรค (4) จัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์โรคอุจจาระร่วง (ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย)โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม.ในหมู่บ้าน ตามร้านอาหารแผงลอย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการภาคีเข็มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8300-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนูรอาซลีนา สาแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด