กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพต่างๆในประชาชน เช่น โรคมะเร็ง สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น อาหารปิ้งย่าง อาหารปนเปื้อนยาฆ่าแมลง สารเร่งเนื้อแดง แช่ฟอร์มาลีน เป็นต้น โรคทางเดินอาหาร อาทิโรคอุจจาระร่วง โรคอหิวาตกโรค สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด ไม่ปรุงสุกใหม่
ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการบริโภคที่ปลอดภัย ถูกหลักอนามัยสำหรับประชาชน ชมรมกลุ่มสตรีตำบลอุใดเจริญได้เล็งเห็นว่าสตรีมีบทบาทต่อการบริโภคในครัวเรือน การส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยควรสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหาร เพื่อการนำมาบริโภคในครัวเรือน เพราะหากกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในการเลือกซื้อ เลือกบริโภค ก็สามารถส่งผลให้คนในครอบครัวได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยไปด้วย


โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ การเลือกซื้อ เลือกบริโภคอาหารให้ปลอดภัย ถูกหลักอนามัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

  • ผลการประเมินความรู้ สตรีกลุ่มเป้าหมายผ่านการประเมินก่อนการอบรมให้ความรู้ ที่ระดับคะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน จำนวน ๘๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และสตรีกลุ่มเป้าหมายผ่านการประเมินหลังการอบรมให้ความรู้ ที่ระดับคะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน จำนวน ๙๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๗ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม สรุปผลคือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน ๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลือกบริโภคอาหารให้ปลอดภัย ถูกหลักอนามัย คิดเป็นร้อยละ ๙๗ ผ่านตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินโครงการบริโภคปลอดภัย ห่างไกลโรค


  • ข้อเสนอแนะ ได้แก่

๑. พัฒนา หรือต่อยอดกิจกรรมให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น

๒. บูรณาการกิจกรรมให้เอื้อประโยชน์ต่อประชาชนกลุ่มต่างๆ

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

-

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ