โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย บาเน็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดประเทศหนึ่งในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยและเหมาะสมต่อการท่องเที่ยว ซึ่งประกอบไปด้วยสถานที่ธรรมชาติที่สวยงามและหลากหลาย ได้แก่ ทะเล ภูเขา น้ำตก เป็นต้น การเจริญเติบโตของแหล่งท่องเที่ยวจะมาพร้อมกับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในชุมชน และแน่นอนในสถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะต้องมีธุรกิจและร้านค้าต่างๆเกิดขึ้นเพื่อรองรับความต้องการของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะร้านอาหารต่างๆ
ในตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สวยงามแห่งหนึ่งในภาคใต้ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอย่างกว้างขวางในสื่อออนไลน์ โดยเฉพาะจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในหมู่นักท่องเที่ยว ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยวและธุรกิจการท่องเที่ยวในตำบลอัยเยอร์เวงมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต จึงทำให้เกิดร้านค้าต่างๆ โดยเฉพาะร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในสถานที่และพื้นที่การท่องเที่ยวเป็นจำนวนมาก ดังนั้นจึงต้องมีการจัดการ ควบคุม และจัดระเบียบ เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารมีการจำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัย และป้องกันการเกิดโรคที่มาจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคบิด เป็นต้น ประกอบกับบนจุดชมวิวทะเลหมอกมีห้องน้ำไม่เพียงพอ โดยเฉพาะบริเวณที่มีร้านค้าเป็นจุดที่ไม่มีห้องน้ำรองรับนักท่องเที่ยว ซึ่งพบว่ามีการขับถ่ายลงสู่ธรรมชาติซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนและสัมผัสได้ง่าย อันจะส่งผลต่อสุขภาพประชาชนทั้งในพื้นที่และนักท่องเที่ยว อีกทั้งอาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของตำบลอัยเยอร์เวงต่อไปอีกด้วย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดให้มี “โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย” นี้ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
- 2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- 3) เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดโรค
2) ประชาชนและนักท่องเที่ยวมีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะ ไม่ทำให้ปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
วันที่ 1 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียบนทะเลหมอกอัยเยอร์เวงจำนวน 2 ถัง 1 จุด คือบริเวณจุดชมวิวทะเลหมอกที่ 1 จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 จุด เนื่องจากห้องน้ำเคลื่อนที่อีก 1 หลังที่ของบประมาณจากศอ.บต. ถูกขยายให้ได้รับงบในปีงบประมาณ 2561 จึ่งต้องรอติดตั้งหลังจากได้ห้องน้ำเคลื่อนที่มาอีก 1 หลัง
0
50
2. จัดอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร ในวันที่ 12 เมษายน 2560 โดยวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอเบตง ให้ความรู้ มีเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 43 คน จาก 31 ร้าน/แผงลอย เป้าหมายที่ตั้งไว้ 30 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 103.33
30
43
3. ลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารเป้าหมาย
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) ของกรมอนามัย ตรวจประเมินได้จำนวน 24 ร้าน/แผงลอย จากเป้าหมายที่ผ่านการอบรม 30 ร้าน/แผงลาย คิดเป็นร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ทั้ง 24 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 100 นอกจากนี้มีการตรวจการใช้โฟมบรรจุอาหาร พบจำนวน 2 ร้านจาก 24 ร้าน แต่ภายหลังได้ให้คำแนะนำ และติดตามตรวจซ้ำพบว่าร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นร้านปลอดโฟม 100%
30
24
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอยเยอร์เวง “โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย” ประจำปี 2560 ระหว่างเดือนมีนาคม – กันยายน 2560 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร 2. เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 3. เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง มีการบูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาธารณสุขอำเภอเบตง โรงพยาบาลเบตง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ฝ่ายปกครองและแกนนำที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ โดยผลการดำเนินงานกิจกรรม มีดังนี้
1.1 จัดอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร ในวันที่ 12 เมษายน 2560 โดยวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอเบตง ให้ความรู้ มีเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 43 คน จาก 31 ร้าน/แผงลอย เป้าหมายที่ตั้งไว้ 30 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 103.33
1.2 ลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) ของกรมอนามัย ตรวจประเมินได้จำนวน 24 ร้าน/แผงลอย จากเป้าหมายที่ผ่านการอบรม 30 ร้าน/แผงลาย คิดเป็นร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ทั้ง 24 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 100 นอกจากนี้มีการตรวจการใช้โฟมบรรจุอาหาร พบจำนวน 2 ร้านจาก 24 ร้าน แต่ภายหลังได้ให้คำแนะนำ และติดตามตรวจซ้ำพบว่าร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นร้านปลอดโฟม 100%
1.3 ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียบนทะเลหมอกอัยเยอร์เวงจำนวน 2 ถัง 1 จุด คือบริเวณจุดชมวิวทะเลหมอกที่ 1 จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 จุด เนื่องจากห้องน้ำเคลื่อนที่อีก 1 หลังที่ของบประมาณจากศอ.บต. ถูกขยายให้ได้รับงบในปีงบประมาณ 2561 จึ่งต้องรอติดตั้งหลังจากได้ห้องน้ำเคลื่อนที่มาอีก 1 หลัง
1.4 มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และมอบโล่รางวัล ประเภทร้านอาหารดีเด่น จำนวน 3 รางวัล ได้แก่ 1) ร้านกะดะซุ้มเบอร์เกอร์ (กม. 32) 2) ร้านก๋วยเตี๋ยวกะจิ (กม. 38) 3) ร้านอานาเซีย (กม.28) 2. โล่รางวัล ประเภทแผงลอยจำหน่ายอาหารดีเด่น จำนวน 2 รางวัล ได้แก่ 1) ร้านแฮปปี้สมายล์คอฟฟี 2) ร้านข้าวยำทะเลหมอก (ข้าวยำเมาะซู)
ทั้งนี้ ในระหว่างดำเนินโครงการได้มีการติดตามประเมินผล โดยการตรวจร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารซ้ำ เพื่อให้มีการปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์หรือพัฒนาให้ดีขึ้นตามคำแนะนำของทีมตรวจประเมิน โดยได้รับความร่วมมือจากร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี และมีร้านอาหารอาหาร/แผงลอยที่ยังไม่ได้เข้าร่วมโครงการในปีนี้ให้ความสนใจ และประสงค์เข้าร่วมโครงการในปีหน้าหลายร้าน ซึ่งเป็นการช่วยกระตุ้นร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ ให้มีการตื่นตัวในการให้บริการด้านอาหารอย่างปลอดภัยและถูกสุขลักษณะแก่ผู้บริโภค
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1) เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
ตัวชี้วัด :
2
2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
3
3) เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร (2) 2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค (3) 3) เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารีแย บาเน็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย บาเน็ง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดประเทศหนึ่งในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยและเหมาะสมต่อการท่องเที่ยว ซึ่งประกอบไปด้วยสถานที่ธรรมชาติที่สวยงามและหลากหลาย ได้แก่ ทะเล ภูเขา น้ำตก เป็นต้น การเจริญเติบโตของแหล่งท่องเที่ยวจะมาพร้อมกับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในชุมชน และแน่นอนในสถานที่ท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะต้องมีธุรกิจและร้านค้าต่างๆเกิดขึ้นเพื่อรองรับความต้องการของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะร้านอาหารต่างๆ
ในตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สวยงามแห่งหนึ่งในภาคใต้ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอย่างกว้างขวางในสื่อออนไลน์ โดยเฉพาะจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในหมู่นักท่องเที่ยว ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยวและธุรกิจการท่องเที่ยวในตำบลอัยเยอร์เวงมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต จึงทำให้เกิดร้านค้าต่างๆ โดยเฉพาะร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในสถานที่และพื้นที่การท่องเที่ยวเป็นจำนวนมาก ดังนั้นจึงต้องมีการจัดการ ควบคุม และจัดระเบียบ เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารมีการจำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัย และป้องกันการเกิดโรคที่มาจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคบิด เป็นต้น ประกอบกับบนจุดชมวิวทะเลหมอกมีห้องน้ำไม่เพียงพอ โดยเฉพาะบริเวณที่มีร้านค้าเป็นจุดที่ไม่มีห้องน้ำรองรับนักท่องเที่ยว ซึ่งพบว่ามีการขับถ่ายลงสู่ธรรมชาติซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนและสัมผัสได้ง่าย อันจะส่งผลต่อสุขภาพประชาชนทั้งในพื้นที่และนักท่องเที่ยว อีกทั้งอาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของตำบลอัยเยอร์เวงต่อไปอีกด้วย
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดให้มี “โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย” นี้ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
- 2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- 3) เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดโรค 2) ประชาชนและนักท่องเที่ยวมีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะ ไม่ทำให้ปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง |
||
วันที่ 1 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียบนทะเลหมอกอัยเยอร์เวงจำนวน 2 ถัง 1 จุด คือบริเวณจุดชมวิวทะเลหมอกที่ 1 จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 จุด เนื่องจากห้องน้ำเคลื่อนที่อีก 1 หลังที่ของบประมาณจากศอ.บต. ถูกขยายให้ได้รับงบในปีงบประมาณ 2561 จึ่งต้องรอติดตั้งหลังจากได้ห้องน้ำเคลื่อนที่มาอีก 1 หลัง
|
0 | 50 |
2. จัดอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร |
||
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร ในวันที่ 12 เมษายน 2560 โดยวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอเบตง ให้ความรู้ มีเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 43 คน จาก 31 ร้าน/แผงลอย เป้าหมายที่ตั้งไว้ 30 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 103.33
|
30 | 43 |
3. ลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารเป้าหมาย |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) ของกรมอนามัย ตรวจประเมินได้จำนวน 24 ร้าน/แผงลอย จากเป้าหมายที่ผ่านการอบรม 30 ร้าน/แผงลาย คิดเป็นร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ทั้ง 24 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 100 นอกจากนี้มีการตรวจการใช้โฟมบรรจุอาหาร พบจำนวน 2 ร้านจาก 24 ร้าน แต่ภายหลังได้ให้คำแนะนำ และติดตามตรวจซ้ำพบว่าร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นร้านปลอดโฟม 100%
|
30 | 24 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอยเยอร์เวง “โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย” ประจำปี 2560 ระหว่างเดือนมีนาคม – กันยายน 2560 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร 2. เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 3. เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง มีการบูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาธารณสุขอำเภอเบตง โรงพยาบาลเบตง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ฝ่ายปกครองและแกนนำที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ โดยผลการดำเนินงานกิจกรรม มีดังนี้ 1.1 จัดอบรมผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร ในวันที่ 12 เมษายน 2560 โดยวิทยากรจากสาธารณสุขอำเภอเบตง ให้ความรู้ มีเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 43 คน จาก 31 ร้าน/แผงลอย เป้าหมายที่ตั้งไว้ 30 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 103.33 1.2 ลงพื้นที่ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารตามมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) ของกรมอนามัย ตรวจประเมินได้จำนวน 24 ร้าน/แผงลอย จากเป้าหมายที่ผ่านการอบรม 30 ร้าน/แผงลาย คิดเป็นร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ทั้ง 24 ร้าน/แผงลอย คิดเป็นร้อยละ 100 นอกจากนี้มีการตรวจการใช้โฟมบรรจุอาหาร พบจำนวน 2 ร้านจาก 24 ร้าน แต่ภายหลังได้ให้คำแนะนำ และติดตามตรวจซ้ำพบว่าร้านอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นร้านปลอดโฟม 100% 1.3 ติดตั้งถังบำบัดน้ำเสียบนทะเลหมอกอัยเยอร์เวงจำนวน 2 ถัง 1 จุด คือบริเวณจุดชมวิวทะเลหมอกที่ 1 จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2 จุด เนื่องจากห้องน้ำเคลื่อนที่อีก 1 หลังที่ของบประมาณจากศอ.บต. ถูกขยายให้ได้รับงบในปีงบประมาณ 2561 จึ่งต้องรอติดตั้งหลังจากได้ห้องน้ำเคลื่อนที่มาอีก 1 หลัง 1.4 มอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste : CFGT) แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และมอบโล่รางวัล ประเภทร้านอาหารดีเด่น จำนวน 3 รางวัล ได้แก่ 1) ร้านกะดะซุ้มเบอร์เกอร์ (กม. 32) 2) ร้านก๋วยเตี๋ยวกะจิ (กม. 38) 3) ร้านอานาเซีย (กม.28) 2. โล่รางวัล ประเภทแผงลอยจำหน่ายอาหารดีเด่น จำนวน 2 รางวัล ได้แก่ 1) ร้านแฮปปี้สมายล์คอฟฟี 2) ร้านข้าวยำทะเลหมอก (ข้าวยำเมาะซู) ทั้งนี้ ในระหว่างดำเนินโครงการได้มีการติดตามประเมินผล โดยการตรวจร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารซ้ำ เพื่อให้มีการปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์หรือพัฒนาให้ดีขึ้นตามคำแนะนำของทีมตรวจประเมิน โดยได้รับความร่วมมือจากร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารที่เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี และมีร้านอาหารอาหาร/แผงลอยที่ยังไม่ได้เข้าร่วมโครงการในปีนี้ให้ความสนใจ และประสงค์เข้าร่วมโครงการในปีหน้าหลายร้าน ซึ่งเป็นการช่วยกระตุ้นร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ ให้มีการตื่นตัวในการให้บริการด้านอาหารอย่างปลอดภัยและถูกสุขลักษณะแก่ผู้บริโภค
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1) เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3) เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่ออบรมให้ความรู้การประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร (2) 2) เพื่อส่งเสริมให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำหน่ายอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค (3) 3) เพื่อจัดให้มีห้องน้ำที่เพียงพอและถูกสุขลักษณะบนจุดชมวิวทะเลหมอกอัยเยอร์เวง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดโรค อาหารปลอดภัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารีแย บาเน็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......