กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา ตั้งสิริวรกุล

ชื่อโครงการ โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสาธารณสุข ปัญหาส่วนใหญ่พบว่ามีผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นจากภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังจากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ได้ระบุถึงสาเหตุสำคัญของผู้ป่วยในได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคโลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อ ไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุจากอุบัติเหตุจราจรพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่กำลังเคลื่อนเข้าสู่“สังคมผู้สูงอายุ”ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสื่อมของร่างกาย ที่เป็นไปตามอายุทำให้พบความเจ็บป่วยเรื้อรังได้มากขึ้นทั้งนี้พบผู้สูงอายุในไทยในสัดส่วนที่สูงขึ้น ภายในปี พ.ศ. 2568ประเทศไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์(Aged society )ผู้สูงอายุ 21% เป็นผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงก่อให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนทำให้มีผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นตามลำดับซึ่งเมื่อผู้ป่วยต้องนอนอยู่กับที่นาน ๆ ไม่มีการเคลื่อนไหวการกดทับโดยน้ำหนักตัวเป็นเวลานาน ๆ ทำให้เกิดการตีบของหลอดเลือดฝอยและหลอดเลือดแดงเล็กๆ ทำให้เซลล์ขาดเลือดไปเลี้ยงและได้รับอาหารไม่เพียงพอรวมทั้งไม่สามารถขับของเสียออกไปได้จึงทำให้เกิดการตายของเซลล์ เกิดเป็นแผลกดทับซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยการเกิดแผลกดทับทำให้ผู้ป่วยต้องได้รับความทุกข์ทรมานมากขึ้นและส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นจากการดูแลรักษาเป็นภาระของครอบครัวมากขึ้นและเมื่อเป็นแผลกดทับเรื้อรังระดับ 3 – 4 อาจทำให้เกิดการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด เป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
การใช้อุปกรณ์เพื่อช่วยป้องกันแผลกดทับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่นิยมใช้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการลดและกระจายแรงกดบริเวณพื้นผิวสัมผัสระหว่างผิวหนังของผู้ป่วยกับพื้นที่ผิวที่รองรับน้ำหนักโดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูกได้แก่สะโพกก้นกบสะบักหลังตาตุ่มและส้นเท้า ปัจจุบันมีความพยายามออกแบบวัสดุรองรับเพื่อป้องกันและลดความรุนแรงของแผลกดทับสำหรับผู้ป่วยหลากหลายประเภทอาทิเช่นที่นอนลม ที่นอนเจล ที่นอนระบบไฟฟ้า ซึ่งมีราคาสูง จากการศึกษาข้อมูลผลงานวิจัยต่างๆพบว่าที่นอนที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยคือที่นอนน้ำ แต่สาเหตุที่ไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากการพัฒนายังไม่ชัดเจนมาก และมีราคาแพงมากทำให้เกิดแนวคิดในการสร้างที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียงทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยการใช้วัสดุทำจากยางพาราบรรจุน้ำ ซึ่งยางพารามีคุณสมบัติในการยืดขยายได้ดี ทนทานต่อการกดทับ เมื่อถุงยางพาราบรรจุน้ำถุงใดถุงหนึ่งเกิดชำรุดที่นอนน้ำก็ยังคงมีประสิทธิภาพในการรับแรงกดทับเนื่องจากถุงยางพาราด้านข้างทั้ง2ด้านจะขยายพื้นที่มาช่วยพยุงและรับน้ำหนักชั่วคราว ระหว่างรอการซ่อมหรือเปลี่ยนถุงยางพาราถุงใหม่การเปลี่ยนถุงบรรจุน้ำสามารถทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็วโดยการเปลี่ยนเฉพาะถุงบรรจุน้ำที่ชำรุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดการเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่
  2. 2.เพื่อลดความรุนแรงของแผลกดทับที่ผู้ป่วยเป็นอยู่เดิม
  3. 3. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดต่อ/ประสานงาน อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนกวิจัยการยาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และคณะทำงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. การเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่ไม่เกินร้อยละ5
    1. ระดับความรุนแรงของแผลกดทับลดลงร้อยละ 5
    2. ผู้รับบริการและญาติมีความพึงพอใจร้อยละ80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดการเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.การเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5
0.00

 

2 2.เพื่อลดความรุนแรงของแผลกดทับที่ผู้ป่วยเป็นอยู่เดิม
ตัวชี้วัด : 2.ระดับความรุนแรงของแผลกดทับลดระดับลงร้อยละ 5
0.00

 

3 3. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ตัวชี้วัด : 3.ญาติมีความพึงพอใจร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดการเกิดแผลกดทับที่บ้านรายใหม่ (2) 2.เพื่อลดความรุนแรงของแผลกดทับที่ผู้ป่วยเป็นอยู่เดิม (3) 3. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดต่อ/ประสานงาน อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  แผนกวิจัยการยาง      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตปัตตานี และคณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการที่นอนน้ำสำหรับผู้ป่วยติดเตียง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัลยา ตั้งสิริวรกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด