กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ ชุมชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2561 ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางภาขวัญ เศรษฐสุข

ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2561

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3308-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาระดับประเทศ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมากก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งจะต้องร่วมมือกับองค์กรชุมชนดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง   ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี แต่อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกยังไม่ลดลง โดยในปี พ.ศ. 2559 อำเภอกงหรามีผู้ป่วยจำนวน 207 คน อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเท่ากับ 577.21 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายมาก คือ อัตราป่วยไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร และในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านชะรัด มีจำนวนผู้ป่วย 22 คน อัตราป่วย 479.7 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายมาก พ.ศ.2560 อำเภอกงหรา มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 42 คน อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเท่ากับ 121.11 ต่อแสนประชากร ในเขตรับผิดชอบ  รพ.สต.บ้านชะรัด มีจำนวนผู้ป่วย 3 คน อัตราป่วย 43.44 ต่อแสนประชากร จะเห็นว่าแนวโน้มของโรคไข้เลือดออกเริ่มลดลง แต่โรคไข้เลือดออกจะระบาด 1 ปี เว้น 2 ปี เพราะฉะนั้นเราจึงต้องเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกอยู่ตลอดเวลา โดยต้องมีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง   ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัด จึงมีแนวคิดที่จะแก้ไขปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนและทุกหมู่บ้าน และได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อหาแนวทางปฏิบัติร่วมกันเพื่อลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ 4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ช่วงก่อนระบาด - สร้างจิตอาสา หรือ เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือ อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ทุกวันศุกร์ - สร้างจิตอาสา รับผิดชอบ วัด มัสยิด สถานที่รา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 104
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกได้
  2. ค่า HI

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ช่วงก่อนระบาด - สร้างจิตอาสา หรือ เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือ อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ทุกวันศุกร์ - สร้างจิตอาสา รับผิดชอบ วัด มัสยิด สถานที่รา

วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ขั้นตอนวางแผนงาน             - ประชุมชี้แจงประชาชน ภาคีเครือข่าย เทศบาล โรงเรียน วัด มัสยิด คืนข้อมูลผลการดำเนินงาน ปี 2560
            - วางแผนการควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ร่วมกับภาคีเครือข่าย

  1. ขั้นตอนการดำเนินงาน           กิจกรรมที่ 1 ช่วงก่อนระบาด             - สร้างจิตอาสา หรือ เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือ อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ทุกวันศุกร์
                - สร้างจิตอาสา รับผิดชอบ วัด มัสยิด สถานที่ราชการในชุมชน เพื่อสำรวจและทำลายลูกน้ำ ทุกวันศุกร์             - ในชุมชนดำเนินการส่งเสริมให้ประชาชน อสม. ภาคีเครือข่าย สำรวจและทำลายลูกน้ำ ทุกวันศุกร์             - พ่นหมอกควันโรงเรียนและ ศพด.ก่อนเปิดภาคเรียน             - อสม.สำรวจลูกน้ำยุงลายทุกเดือน           - ประชุมคณะกรรมการ SRRT รพ.สต.บ้านชะรัด พร้อมทั้งฟื้นฟูความรู้ตามมาตรฐาน           - ประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย           กิจกรรมที่ 2 ช่วงระบาด           - รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกช่วงระบาด (มิย.-ธค.61)           - ดำเนินการพ่นหมอกควันในกรณีเกิดโรควันที่ 0,3,7           - ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมสำรวจค่า HI,CI ในวันที่ 0,3,7,14,28           - สอบสวนโรคเพื่อหาความเชื่อมโยงของการเกิดโรค           - แจ้งข่าวสารให้กับชุมชนรับทราบ           กิจกรรมที่ 3 ช่วงหลังเกิดโรค 1.สร้างพื้นที่ให้มีค่า HI,CI เป็น 0 (Clean zone) ในบริเวณเกิดโรค 28 วัน เพื่อป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายที่ 2 (Generation 2)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกได้ 2. ค่า HI<10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และ CI = 0 3.  อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเหลือ ไม่เกิน 90 ต่อแสนประชากร 4.  อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินร้อยละ 0.15

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกได้ และสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านสะอาด ค่า HI<10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และ CI = 0

มีการสำรวจและทำลายลูกน้ำ ทุกวันศุกร์ -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเหลือ ไม่เกิน 90 ต่อแสนประชากร -อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินร้อยละ 0.15

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง 2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ 4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากไข้เลือดออกได้ และสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านสะอาด ค่า HI<10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และ CI = 0 มีการสำรวจและทำลายลูกน้ำ ทุกวันศุกร์ -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเหลือ ไม่เกิน 90 ต่อแสนประชากร -อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินร้อยละ 0.15
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 104
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 104
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจและร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง  2. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย  3. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่  4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ช่วงก่อนระบาด            - สร้างจิตอาสา หรือ เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือ อาสาสมัครสาธารณสุขในโรงเรียน เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ทุกวันศุกร์              - สร้างจิตอาสา รับผิดชอบ วัด มัสยิด สถานที่รา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภาขวัญ เศรษฐสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด