โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน
บทคัดย่อ
ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภค ส่งผลให้ปัยหาขยะมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป๋นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญแก่ผู้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนโดยทั่วไป การแก้ปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่เกิดขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) ลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่น ที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค 2.)ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ 3.) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภคส่งผลให้ปัญหาขยะแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญของผู้ที่ได้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนโดยทั่วไป การแก้ไขปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่จะเกิดขึ้น สำหรับการป้องกันและแก้ไขที่ดีควรพิจารณา ถึงต้นเหตุที่ก่อให้เกิดขยะมูลฝอยขึ้นมา ซึ่งก็คงจะหมายถึง มนุษย์ หรือผู้สร้างขยะมูลฝอย นั้นเอง การป้องกันและการแก้ไขปัญหาของขยะมูลฝอย เริ่มต้นด้วย การสร้างจิตสำนึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเอง และภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทำงาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จักทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนำไปยังสถานที่กำจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น
ปัจจุบันรูปแบบการจัดเก็บและการกำจัดของชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง ตำบลกำแพง ยังไม่เป็นระบบ ขาดการบูรณาการ การกำจัดขยะมูลฝอยในชุมชนส่วนใหญ่ยังใช้วิธีเผาทิ้งแบบไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดปัญหาสุขอนามัยกับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง เช่น ปัญหาของกลิ่น ปัญหาแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงต่างๆ ที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค คือ ยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก แมลงวันพาหะนำโรคอุจจาระร่วง แมลงสาบพาหะนำโรคอุจจาระร่วง และสถานการณ์โรคในพื้นที่หมู่ที่ ๑๐ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐ สถานการณ์ไข้เลือดออก อัตราป่วยต่อแสนประชากร 466.72, 746.27 และ 93.28 ตามลำดับเพราะฉะนั้นการบริหารจัดการขยะในชุมชนที่ถูกหลักสุขาภิบาล สามารถทำให้อัตราป่วยด้วยโรคดังกล่าวลดลงและหมดไปในอนาคต เช่น เศษอาหารมีทุกครัวเรือน แต่ไม่ได้นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทั้งที่สามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยหมักหรือน้ำหมักชีวภาพได้ สามารถลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีและหันมาใช้ปุ๋ยหมักหรือน้ำหมักชีวภาพในพืชผลการเกษตร
ทางคณะผู้จัดทําได้ตระหนักและให้ความสำคัญของปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน โดยมีการสร้างแกนนำครัวเรือนต้นแบบ เพื่อลดอัตราการป่วยของโรคติดต่อที่มีพาหะนำโรคโดยอาศัยการแพร่พันธุ์ในกองขยะ และเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆ ในชุมชนต่อไปโดยเน้นการให้ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล การคัดแยกขยะจากต้นทาง การจัดการขยะแบบ3Rs การสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร/ขยะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
- 2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้
- 3 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องขยะ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่แกนนำในชุมชน
- กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
- กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
- กิจกรรมติดตามผล
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีอัตราการป่วยลดลง
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพได้
- บ้านเรือนในชุมชน เป็นบ้านเรือนที่ถูกหลักสุขาภิบาลและมีสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่แกนนำในชุมชน
วันที่ 8 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะแบบ 3Rs
- สอน/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่แกนนำในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
150
0
2. กิจกรรมที่ 3 รณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- การรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
- การประกวดครัวเรือนตัวอย่าง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
1.ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
2.ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
300
0
3. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- การจัดการขยะตามหลัก 3Rsได้แก่
- Reduce คือ ลดการใช้ การบริโภคทรัพยากรที่ไม่จำเป็นลง ลดการก่อให้เกิดขยะ
- Reuse คือ การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยการนำสิ่งสิ่งของเครื่องใช้มาใช้
- Recycle คือ การนำสิ่งของที่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบเดิมไม่ได้แล้ว หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นขยะ นำไปจัดการด้วยกระบวนการต่างๆ แล้วแปรรูปมาเป็นสิ่งใหม่ จากนั้นก็นำกลับมาใช้ใหม่
2.การคัดแยกขยะตามประเภทขยะ ดังนี้
- ขยะทั่วไป ได้แก่ ถุงพลาสติกใส่อาหาร ซองขนม ซองบะหมี่ ทิชชู กล่องอาหาร แก้วกระดาษ เป็นต้น
- ขยะย่อยสลายได้ ได้แก่ เศษอาหาร เปลือกผลไม้ เศษผัก เศษเนื้อสัตว์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ได้แก่ ขวด แก้วพลาสติก เศษแก้ว กระป๋องน้ำอัดลม น้ำผลไม้ ขวดแก้ว เศษกระดาษ กล่องเครื่องดื่ม ถุงก็อบแก๊บ เป็นต้น
- ขยะอันตราย ได้แก่ ภาชนะบรรจุสารอันตราย เช่น น้ำยาทำความสะอาด ยาฆ่าแมลง ทินเนอร์ ยาหมดอายุ เครื่องสำอาง เป็นต้น
3.รณรงค์ เชิญชวนประชาชนในชุมชน ช่วยกันคัดแยกขยะให้ถูกวิธี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
300
0
4. กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องขยะ
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ตามช่องทางต่างๆ เช่น เสียงตามสายในชุมชน หลังละหมาดวันศุกร์เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องขยะ ตามช่องทางต่างๆ เช่น เสียงตามสายในชุมชน หลังละหมาดวันศุกร์ เป็นต้น
300
0
5. กิจกรรมติดตามผล
วันที่ 24 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ติดตาม สุ่มประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของครัวเรือน จำนวน 3 เดือน/ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
300
0
6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 30 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
ปัญหา / อุปสรรค
- ประชาชนในชุมชนส่วนหนึ่งยังไม่ให้ความสนใจเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน
- ผู้จัดทำโครงการขาดการวางแผนการดำเนินกิจกรรม ทำให้การดำเนินกิจกรรมล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กำหนด
แนวทางการแก้ไข
- แกนนำหมู่บ้านหรือผู้นำชุมชนต้องสร้างมาตรการของชุมชน เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อลดปริมาณขยะ โดยให้ครัวเรือนเป็นจุดแรกเริ่ม สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในชุมชน และจัดกิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
- การดำเนินกิจกรรมตามโครงการ คณะทำงานต้องร่วมกันวางแผน ติดต่อประสานงาน เพื่อให้กิจกรรมดังกล่าวเป็นไปตามที่กำหนด
ข้อเสนอะแนะ
- ขยายผลเรื่องการจัดการขยะไปยังหมู่อื่นๆ ในเขตตำบลกำแพง เพื่อที่จะได้เป็นตำบลปลอดขยะ
- สร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน เพราะถ้าครัวเรือนมีการจัดการที่ดี ย่อมทำให้ชุมชน/หมู่บ้าน ได้รับผลประโยชน์ที่ดีไปด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : - อัตราการป่วยของประชาชนในชุมชนที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค มีอัตราการป่วยลดลง
ร้อยละ 80
80.00
359.30
359.30 ต่อแสนประชากร
2
2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้
ตัวชี้วัด : - ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้
80.00
81.33
3
3 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ตัวชี้วัด : - บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้งและจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้าน ให้ถูกหลักสุขาภิบาล
60.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภค ส่งผลให้ปัยหาขยะมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป๋นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญแก่ผู้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนโดยทั่วไป การแก้ปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่เกิดขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) ลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่น ที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค 2.)ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ 3.) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
- ประชาชนในชุมชนส่วนหนึ่งยังไม่ให้ความสนใจเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน
- ผู้จัดทำโครงการขาดการวางแผนการดำเนินกิจกรรม ทำให้การดำเนินกิจกรรมล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กำหนด
- ขยายผลเรื่องการจัดการขยะไปยังหมู่อื่นๆ ในเขตตำบลกำแพง เพื่อที่จะได้เป็นตำบลปลอดขยะ
- สร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน เพราะถ้าครัวเรือนมีการจัดการที่ดี ย่อมทำให้ชุมชน/หมู่บ้าน ได้รับผลประโยชน์ที่ดีไปด้วย
โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน
บทคัดย่อ
ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภค ส่งผลให้ปัยหาขยะมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป๋นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญแก่ผู้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนโดยทั่วไป การแก้ปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่เกิดขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) ลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่น ที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค 2.)ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ 3.) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภคส่งผลให้ปัญหาขยะแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญของผู้ที่ได้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนโดยทั่วไป การแก้ไขปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่จะเกิดขึ้น สำหรับการป้องกันและแก้ไขที่ดีควรพิจารณา ถึงต้นเหตุที่ก่อให้เกิดขยะมูลฝอยขึ้นมา ซึ่งก็คงจะหมายถึง มนุษย์ หรือผู้สร้างขยะมูลฝอย นั้นเอง การป้องกันและการแก้ไขปัญหาของขยะมูลฝอย เริ่มต้นด้วย การสร้างจิตสำนึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเอง และภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทำงาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จักทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนำไปยังสถานที่กำจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ปัจจุบันรูปแบบการจัดเก็บและการกำจัดของชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง ตำบลกำแพง ยังไม่เป็นระบบ ขาดการบูรณาการ การกำจัดขยะมูลฝอยในชุมชนส่วนใหญ่ยังใช้วิธีเผาทิ้งแบบไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดปัญหาสุขอนามัยกับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง เช่น ปัญหาของกลิ่น ปัญหาแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงต่างๆ ที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค คือ ยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก แมลงวันพาหะนำโรคอุจจาระร่วง แมลงสาบพาหะนำโรคอุจจาระร่วง และสถานการณ์โรคในพื้นที่หมู่ที่ ๑๐ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐ สถานการณ์ไข้เลือดออก อัตราป่วยต่อแสนประชากร 466.72, 746.27 และ 93.28 ตามลำดับเพราะฉะนั้นการบริหารจัดการขยะในชุมชนที่ถูกหลักสุขาภิบาล สามารถทำให้อัตราป่วยด้วยโรคดังกล่าวลดลงและหมดไปในอนาคต เช่น เศษอาหารมีทุกครัวเรือน แต่ไม่ได้นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทั้งที่สามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยหมักหรือน้ำหมักชีวภาพได้ สามารถลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีและหันมาใช้ปุ๋ยหมักหรือน้ำหมักชีวภาพในพืชผลการเกษตร ทางคณะผู้จัดทําได้ตระหนักและให้ความสำคัญของปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน โดยมีการสร้างแกนนำครัวเรือนต้นแบบ เพื่อลดอัตราการป่วยของโรคติดต่อที่มีพาหะนำโรคโดยอาศัยการแพร่พันธุ์ในกองขยะ และเพื่อเป็นแบบอย่างให้กับครัวเรือนอื่นๆ ในชุมชนต่อไปโดยเน้นการให้ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล การคัดแยกขยะจากต้นทาง การจัดการขยะแบบ3Rs การสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร/ขยะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค
- 2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้
- 3 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องขยะ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่แกนนำในชุมชน
- กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
- กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
- กิจกรรมติดตามผล
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีอัตราการป่วยลดลง
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพได้
- บ้านเรือนในชุมชน เป็นบ้านเรือนที่ถูกหลักสุขาภิบาลและมีสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่แกนนำในชุมชน |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน) ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
|
150 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 3 รณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ 1.ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย 2.ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
|
300 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- Reduce คือ ลดการใช้ การบริโภคทรัพยากรที่ไม่จำเป็นลง ลดการก่อให้เกิดขยะ - Reuse คือ การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยการนำสิ่งสิ่งของเครื่องใช้มาใช้ - Recycle คือ การนำสิ่งของที่ใช้ประโยชน์ในรูปแบบเดิมไม่ได้แล้ว หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นขยะ นำไปจัดการด้วยกระบวนการต่างๆ แล้วแปรรูปมาเป็นสิ่งใหม่ จากนั้นก็นำกลับมาใช้ใหม่ 2.การคัดแยกขยะตามประเภทขยะ ดังนี้ - ขยะทั่วไป ได้แก่ ถุงพลาสติกใส่อาหาร ซองขนม ซองบะหมี่ ทิชชู กล่องอาหาร แก้วกระดาษ เป็นต้น - ขยะย่อยสลายได้ ได้แก่ เศษอาหาร เปลือกผลไม้ เศษผัก เศษเนื้อสัตว์ เป็นต้น - ขยะรีไซเคิล ได้แก่ ขวด แก้วพลาสติก เศษแก้ว กระป๋องน้ำอัดลม น้ำผลไม้ ขวดแก้ว เศษกระดาษ กล่องเครื่องดื่ม ถุงก็อบแก๊บ เป็นต้น - ขยะอันตราย ได้แก่ ภาชนะบรรจุสารอันตราย เช่น น้ำยาทำความสะอาด ยาฆ่าแมลง ทินเนอร์ ยาหมดอายุ เครื่องสำอาง เป็นต้น 3.รณรงค์ เชิญชวนประชาชนในชุมชน ช่วยกันคัดแยกขยะให้ถูกวิธี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
|
300 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องขยะ |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องขยะ ตามช่องทางต่างๆ เช่น เสียงตามสายในชุมชน หลังละหมาดวันศุกร์ เป็นต้น
|
300 | 0 |
5. กิจกรรมติดตามผล |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำติดตาม สุ่มประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของครัวเรือน จำนวน 3 เดือน/ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
|
300 | 0 |
6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
ปัญหา / อุปสรรค
- ประชาชนในชุมชนส่วนหนึ่งยังไม่ให้ความสนใจเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน
- ผู้จัดทำโครงการขาดการวางแผนการดำเนินกิจกรรม ทำให้การดำเนินกิจกรรมล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กำหนด
แนวทางการแก้ไข
- แกนนำหมู่บ้านหรือผู้นำชุมชนต้องสร้างมาตรการของชุมชน เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน เพื่อลดปริมาณขยะ โดยให้ครัวเรือนเป็นจุดแรกเริ่ม สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในชุมชน และจัดกิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
- การดำเนินกิจกรรมตามโครงการ คณะทำงานต้องร่วมกันวางแผน ติดต่อประสานงาน เพื่อให้กิจกรรมดังกล่าวเป็นไปตามที่กำหนด
ข้อเสนอะแนะ
- ขยายผลเรื่องการจัดการขยะไปยังหมู่อื่นๆ ในเขตตำบลกำแพง เพื่อที่จะได้เป็นตำบลปลอดขยะ
- สร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในครัวเรือน เพราะถ้าครัวเรือนมีการจัดการที่ดี ย่อมทำให้ชุมชน/หมู่บ้าน ได้รับผลประโยชน์ที่ดีไปด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่นที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค ตัวชี้วัด : - อัตราการป่วยของประชาชนในชุมชนที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค มีอัตราการป่วยลดลง ร้อยละ 80 |
80.00 | 359.30 | 359.30 ต่อแสนประชากร |
|
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ ตัวชี้วัด : - ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทางการจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ |
80.00 | 81.33 |
|
|
3 | 3 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ตัวชี้วัด : - บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้งและจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้าน ให้ถูกหลักสุขาภิบาล |
60.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภค ส่งผลให้ปัยหาขยะมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป๋นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญแก่ผู้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนโดยทั่วไป การแก้ปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่เกิดขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) ลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่น ที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค 2.)ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ 3.) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ผลการดำเนินโครงการพบว่า
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)
ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์
กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68
กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ
ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย
ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ
สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......