โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะอัสนะห์สาเมาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-2-71 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L7885-2-71 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจชุมชน ของคณะกรรมการชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ทั้ง 6 ชุมชน ประกอบด้วย ชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม พบว่า ส่วนใหญ่ยังมีปัญหาสุขภาพชุมชน ที่ต้องได้รับการแก้ไขจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น คณะกรรมการชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้ง 6 ชุมชน จึงร่วมกันจัดให้มีโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
480
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ชุมชนเกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนได้
- ประชาชนในชุมชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อแผนงาน/โครงการ : โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
1. ผลการดำเนินงาน
๑.๑ จัดกิจกรรม “เมาะสือแม สุขภาพดี/บ้านสะอาด ชีวีเป็นสุข” กิจกรรมดังนี้
- ให้ความรู้เรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบ้านเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
- วิธีการป้องกัน,กำจัดลูกน้ำยุงลายและประกวดบ้านสะอาดถูกสุขลักษณะ
- ตรวจสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๒ จัดกิจกรรม “เด็ก ๐-๕ ปี ชุมชนกูแบบาเดาะ สุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์” กิจกรรมดังนี้
- กิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการได้รับวัคซีน
- ติดตามเยี่ยมบ้านเด็ก ๐-๑ ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๓ จัดกิจกรรม “บางนราร่วมใจ ชุมชนปลอดโรค ปลอดภัย ไร้ยุง” กิจกรรมดังนี้
- ให้ความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและในชุมชน
- Big cleaning day บริเวณรอบๆบ้านและในชุมชน
- กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ตามหลัก 3ป. (บริเวณบ้านสะอาด/ถูกสุขลักษณะ/ค่าภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย (CI) หรือค่าพบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินเกณฑ์)
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๔ จัดกิจกรรม “การปรับเปลี่ยนสุขภาพด้านการออกกำลังกายด้วยศาสตร์มณีเวช ตามวิถีมุสลิม ชุมชนฮูยงตันหยง” กิจกรรมดังนี้
- การให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยศาสตร์มณีเวช ตามวิถีมุสลิม
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๕ จัดกิจกรรม “รายอบือรากะ รวมใจ ปลอดภัย ไร้ยุง” กิจกรรมดังนี้
- ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการกำจัดยุงในครัวเรือนและชุมชน
- Big cleaning day บริเวณรอบๆบ้านและในชุมชน
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๖ จัดกิจกรรม “ส่งเสริมการตรวจสุขภาพประจำปี และคัดกรองโรคเบื้องต้น ชุมชนมัดยามันรู้เท่าทันโรค ห่างไกลความเจ็บป่วย” กิจกรรมดังนี้
- การคัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้น
- วัดความดันโลหิตสูง
- วัดระดับน้ำตาลในเลือด(DTX)
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
บรรลุตามวัตถุประสงค์
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/กิจกรรมทั้งหมด ๔๘๐ คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๖0,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๕๙,๗๖๔ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๖
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ๒๓๖ บาท คิดเป็นร้อยละ ๐.๓๙
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
มี
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) :
- ภาษาในการสื่อสารระหว่างนักศึกษากับคนในชุมชนไม่เข้าใจกันในบางคำพูด
- สภาพอากาศในวันจัดโครงการไม่เอื้ออำนวย เนื่องจากมีลมแรงและฝนตกหนัก
- การประสานงานกับวิทยากรยังขาดการประสานงานที่ดี
- ความไม่แน่นอนของประชากรที่ร่วมงาน
แนวทางแก้ไข (ระบุ)
- ควรมีการวางแผนในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดความแน่นอน และทำให้การปะระสานงานเป็นไปอย่างราบรื่น
- การประชาสัมพันธ์ภายในชุมชนต้องอาศัยหลายๆฝ่ายร่วมมือกันเพื่อให้เกิดความทั่วถึงในการประชาสัมพันธ์ เช่น จากผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพ. เจ้าหน้าที่ อสม. ประชาชนในชุมชน
- ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ควรมีการวางแผนการแบ่งงาน และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จมากขึ้น เช่น ด้านการติดต่อประสานงาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และด้านการแปลผล และสรุปผล
- ในการจัดโครงการควรมีการจัดกิจกรรมตามละแวกบ้านของคนในชุมชน เพราะจะทำให้ได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ได้มากขึ้น
ลงชื่อ..................................................ผู้รายงาน
(นางเจ๊ะอัสนะห์ สาเมาะ)
ตำแหน่ง ประธาน /อสม.ชุมชนเมาะสือแม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน
ตัวชี้วัด : อสม.และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เข้าร่วมประชุมและร่วมกันกำหนดแนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 80
80.00
2
เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เข้าร่วมกิจกรรมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60
60.00
3
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านความรู้หลังเสร็จสิ้นโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60 และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
480
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
480
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-2-71
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเจ๊ะอัสนะห์สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ”
อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะอัสนะห์สาเมาะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-2-71 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L7885-2-71 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจชุมชน ของคณะกรรมการชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ทั้ง 6 ชุมชน ประกอบด้วย ชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม พบว่า ส่วนใหญ่ยังมีปัญหาสุขภาพชุมชน ที่ต้องได้รับการแก้ไขจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น คณะกรรมการชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้ง 6 ชุมชน จึงร่วมกันจัดให้มีโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 480 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ชุมชนเกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนได้
- ประชาชนในชุมชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
- อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อแผนงาน/โครงการ : โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
1. ผลการดำเนินงาน
๑.๑ จัดกิจกรรม “เมาะสือแม สุขภาพดี/บ้านสะอาด ชีวีเป็นสุข” กิจกรรมดังนี้
- ให้ความรู้เรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบ้านเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
- วิธีการป้องกัน,กำจัดลูกน้ำยุงลายและประกวดบ้านสะอาดถูกสุขลักษณะ
- ตรวจสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๒ จัดกิจกรรม “เด็ก ๐-๕ ปี ชุมชนกูแบบาเดาะ สุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์” กิจกรรมดังนี้
- กิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการได้รับวัคซีน
- ติดตามเยี่ยมบ้านเด็ก ๐-๑ ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๓ จัดกิจกรรม “บางนราร่วมใจ ชุมชนปลอดโรค ปลอดภัย ไร้ยุง” กิจกรรมดังนี้
- ให้ความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและในชุมชน
- Big cleaning day บริเวณรอบๆบ้านและในชุมชน
- กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ตามหลัก 3ป. (บริเวณบ้านสะอาด/ถูกสุขลักษณะ/ค่าภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย (CI) หรือค่าพบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินเกณฑ์)
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๔ จัดกิจกรรม “การปรับเปลี่ยนสุขภาพด้านการออกกำลังกายด้วยศาสตร์มณีเวช ตามวิถีมุสลิม ชุมชนฮูยงตันหยง” กิจกรรมดังนี้
- การให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยศาสตร์มณีเวช ตามวิถีมุสลิม
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๕ จัดกิจกรรม “รายอบือรากะ รวมใจ ปลอดภัย ไร้ยุง” กิจกรรมดังนี้
- ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการกำจัดยุงในครัวเรือนและชุมชน
- Big cleaning day บริเวณรอบๆบ้านและในชุมชน
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
๑.๖ จัดกิจกรรม “ส่งเสริมการตรวจสุขภาพประจำปี และคัดกรองโรคเบื้องต้น ชุมชนมัดยามันรู้เท่าทันโรค ห่างไกลความเจ็บป่วย” กิจกรรมดังนี้
- การคัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้น
- วัดความดันโลหิตสูง
- วัดระดับน้ำตาลในเลือด(DTX)
- มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐ คน
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/กิจกรรมทั้งหมด ๔๘๐ คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๖0,000 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๕๙,๗๖๔ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๖ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ๒๓๖ บาท คิดเป็นร้อยละ ๐.๓๙
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ไม่มี
มี
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) :
- ภาษาในการสื่อสารระหว่างนักศึกษากับคนในชุมชนไม่เข้าใจกันในบางคำพูด
- สภาพอากาศในวันจัดโครงการไม่เอื้ออำนวย เนื่องจากมีลมแรงและฝนตกหนัก
- การประสานงานกับวิทยากรยังขาดการประสานงานที่ดี
- ความไม่แน่นอนของประชากรที่ร่วมงาน แนวทางแก้ไข (ระบุ)
- ควรมีการวางแผนในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดความแน่นอน และทำให้การปะระสานงานเป็นไปอย่างราบรื่น
- การประชาสัมพันธ์ภายในชุมชนต้องอาศัยหลายๆฝ่ายร่วมมือกันเพื่อให้เกิดความทั่วถึงในการประชาสัมพันธ์ เช่น จากผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพ. เจ้าหน้าที่ อสม. ประชาชนในชุมชน
- ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ควรมีการวางแผนการแบ่งงาน และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จมากขึ้น เช่น ด้านการติดต่อประสานงาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และด้านการแปลผล และสรุปผล
- ในการจัดโครงการควรมีการจัดกิจกรรมตามละแวกบ้านของคนในชุมชน เพราะจะทำให้ได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ได้มากขึ้น
ลงชื่อ..................................................ผู้รายงาน (นางเจ๊ะอัสนะห์ สาเมาะ) ตำแหน่ง ประธาน /อสม.ชุมชนเมาะสือแม วันที่-เดือน-พ.ศ. ................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน ตัวชี้วัด : อสม.และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เข้าร่วมประชุมและร่วมกันกำหนดแนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เข้าร่วมกิจกรรมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60 |
60.00 |
|
||
3 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านความรู้หลังเสร็จสิ้นโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60 และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 480 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 480 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L7885-2-71
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเจ๊ะอัสนะห์สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......