กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดตำบลสะบารัง และอาเนาะรู ปี2561 ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดตำบลสะบารัง และอาเนาะรู ปี2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 1 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดตำบลสะบารัง และอาเนาะรู ปี2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดตำบลสะบารัง และอาเนาะรู ปี2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดตำบลสะบารัง และอาเนาะรู ปี2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 1 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 172,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นกลุ่มโรคที่เกิดกับระบบหัวใจและหลอดเลือดซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตลำดับต้นของคนไทย ในแต่ละปีจะมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคนี้ถึง54,530 รายและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นสูงทุกปี โดยสามในสี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งหมดเกิดจากโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจขาดเลือดซึ่งเกิดจากการที่หลอดเลือดตีบตันหรือขาดความยืดหยุ่น จากการสะสมของไขมัน โปรตีน และแร่ธาตุที่บริเวณผนังหลอดเลือดโรคนี้เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับหลอดเลือดแดงใหญ่ที่สำคัญในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและตีบตันสูงกว่าประชากรทั่วไปและมีความรุนแรงขึ้นเมื่อผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิตได้ตามค่าเป้าเหมาย หรือมีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โดยใช้ตารางสีประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเป็นการประเมินทำนายโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคอัมพฤกษ์อัมพาต ในระยะเวลา 10 ข้างหน้า ที่ประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยงหลักได้แก่อายุ เพศ การเป็นเบาหวาน การสูบบุหรี่ ค่าระดับความดันโลหิตตัวบน ค่าระดับไขมันโคเลสเตอรอล ในเลือด อ้วนลงพุง (การที่เส้นรอบเอวมากกว่าค่า ส่วนสูงหาร2) โดยแปรผลโอกาสเสี่ยงมี 5 ระดับ ดังนี้‹ 10% (ต่ำ) 10- ‹ 20% (ปานกลาง) , 20- ‹ 30%(สูง) , 30- ‹ 40%(สูงมาก) , › 40% (สูงอันตราย) ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในปัจจุบันคือการเพิ่มขึ้นของจำนวนคนอ้วนเพราะอุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไปมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการชีวิตประจำวันกินอาหารที่มีมันเพิ่มขึ้นซึ่งไขมันที่สะสมอยู่ที่พุงเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้นเป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จากการประเมินผลการคัดกรองในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรความดันโลหิตสูงปี2560 โดยดึงข้อมูลจากรายงานการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไทย (Thai CV Risk score)ในกลุ่มผู้ป่วย HTหรือDM อายุ 40-70ปี ตั้งแต่วันที่1ตุลาคม 59—31สิงหาคม 60 โดยประมวลในเขตที่รับผิดชอบพบว่ามีกลุ่มเสี่ยงสูง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยมีค่า CVD Risk ≥ 20% ทั้ง2 ชุมชนตำบลสะบารัง 266 ราย และอาเนาะรู 155 ราย รวมเป็นจำนวน 421 ราย (โดยใช้ข้อมูลประมวลรายละเอียดในโปรแกรม ที่แสดงว่าผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง ,ประวัติการสูบบุหรี่ ผลคลอเลสเตอรอล, ค่าความดันโลหิตสูง ,น้ำหนัก ,ส่วนสูง, รอบเอว BMI , และ CV RiceScore ) โดยพบว่า ผู้ป่วยกลุ่มโรคเบาหวานความดันที่ได้รับการประเมินกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จะพบในอายุ มากกว่า 55 ปีขึ้นไปเป็นเพศชายมากกว่าผู้หญิง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตำบลสะบารังและอาเนาะรู ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 หรือญาติผู้ป่วย,อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และ ดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
  3. 3. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินมาตรฐานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
  4. 3. 4. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการมีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/hgสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
  5. 5. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการมีระดับไขมันในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้
  6. 6. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรู สามารถลดระดับCVD Risk ได้ 30%

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เรื่อง อาหารที่เหมาะสมแก่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 421
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ติดตามหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. ร้อยละ ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดปี2561 ที่ดึงจากโปรแกรม Thai CV Risk score
ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย 50% 2. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดปี2561 ที่เข้ารับการอบรมมีระดับค่าBMI ลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
3. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดปี2561 ที่เข้ารับการอบรมมีค่าความดัน โลหิตสูงหรือไขมันในเลือดสูง มีระดับความดันโลหิตหรือไขมันในเลือดลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ 4. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดปี2561 ที่เข้ารับการอบรมมีค่าระดับน้ำตาลใน เลือดสูง มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ 5. ร้อยละ 30 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับ CVD Risk


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตำบลสะบารังและอาเนาะรู ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 หรือญาติผู้ป่วย,อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และ ดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรู ปี2561 ที่ดึงโปรแกรม Thai CV Risk score และHDC ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย 50%
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีระดับค่าBMIลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินมาตรฐานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
ตัวชี้วัด : 3 . ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีค่าความดันโลหิตสูงหรือไขมันในเลือดสูง มีระดับ ความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmHg หรือไขมันในเลือด LDLน้อยกว่า 100 mg%
0.00

 

4 3. 4. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการมีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/hgสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้
ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีค่าระดับน้ำตาลในเลือดสูง สามารถควบคุมระดับ น้ำตาลในเลือดได้ FBC น้อยกว่า 140 mg %
0.00

 

5 5. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการมีระดับไขมันในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้
ตัวชี้วัด : 5. ร้อยละ 30 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรู ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับ CVD Risk
0.00

 

6 6. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20 ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรู สามารถลดระดับCVD Risk ได้ 30%
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 421
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 421
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตำบลสะบารังและอาเนาะรู ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด ที่มีCVD Risk ≥ 20 หรือญาติผู้ป่วย,อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน  ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และ ดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  เพื่อลดความเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด  ที่มีCVD Risk ≥ 20    ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานสามารถลดหรือควบคุมน้ำหนักได้ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20      ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินมาตรฐานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ (4) 3. 4. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20      ตำบลสะบารัง และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการมีระดับความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 mm/hgสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (5) 5. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20      ตำบลสะบารัง  และ อาเนาะรูที่เข้าร่วมโครงการมีระดับไขมันในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน สามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้ (6) 6. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดที่มีCVD Risk ≥ 20  ตำบลสะบารัง    และ อาเนาะรู สามารถลดระดับCVD Risk ได้ 30%

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่อง  อาหารที่เหมาะสมแก่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดตำบลสะบารัง และอาเนาะรู ปี2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด