กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว ”
ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวชมัยพรแก้วศักดิ์




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรค อาการและการแสดงการดูแลเบื้องต้นและทักษะที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทางการเคลื่อนไหว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและสามารถดูแลอุปกรณ์ติดตัวอย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อ และมีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ชุมชนมความเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถและรองรับสถานการณ์ผูู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว (2) ติดตามประเมินผลทักษะที่ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้การแพทย์เจริญก้าวหน้า เกิดนวัตกรรมใหม่ที่สามารถเพิ่มอายุขัยเฉลี่ยของประชากร แต่ผลกระทบที่เกิดขึ้น ผู้ป่วยจะมีอุปกรณ์ติดตัวที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด ผู้ดูแลต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเพื่อฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย สามารถดูแลและทำความสะอาดอุปกรณ์ติดตัว เช่น สายให้อาหารทางสายยาง เจาะคอ เครื่องดูดเสมหะ เครื่องผลิตออกซิเจน สายออกซิเจน อุปกรณ์ทำแผล รวมถึงการฟื้นฟูสภาพร่างกายทางการเคลื่อนไหว และการสังเกตอาการผิดปกติที่ควรนำส่งผู้ป่วยไปถึงโรงพยาบาลอย่างทันท่วงที ผู้ดูแลประจำครอบครัวเป็นผู้เสียสละ ทั้งกำลังกาย กำลังใจ เพื่อดูแลบุคคลอันเป็นที่รักให้กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็ว ด้วยความรักและความห่วงใยที่มอบให้ย่อมทุ่มเทกำลังกายใจ เปิดรับสิ่งเรียนรู้สิ่งที่ทีมสุขภาพมอบให้อย่างไม่มีข้อแม้ข้อจำกัดของผู้ดูแลประจำครอบครัวคือ ไม่สามารถปล่อยผู้ป่วยให้อยู่โดยลำพังเพื่อเข้ารับการอบรมฟื้นฟูความรู้
ดังนั้นศูนย์บริการสาธารณสุขปลักธง เทศบาลเมืองคอหงส์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญภาระอันสำคัญนี้ จึงจัดโครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัวเชิงรุก เพื่อเพิ่มทักษะให้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยใน ในชุมชนให้มีความรู้ฝึกทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติแก่ผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ลดอาการข้อติดแข็ง ไม่มีแผลกดทับ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และลดเวลาความยุ่งยากในการเข้ารับอบรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรค อาการและการแสดงการดูแลเบื้องต้นและทักษะที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทางการเคลื่อนไหว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและสามารถดูแลอุปกรณ์ติดตัวอย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อ และมีประสิทธิภาพ
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ชุมชนมความเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถและรองรับสถานการณ์ผูู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว
  2. ติดตามประเมินผลทักษะที่ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 18
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถดูแลผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่มีอุปกรณ์ติดตัวได้อย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อและมีประสิทธิภาพ ๒. ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถนำทักษะและความรู้ที่ได้รับมาเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน เช่นแผลกดทับ ข้อติดแข็ง ๓. เกิดชุมชนที่เข้มแข็ง มีกลุ่มช่วยเหลือกันและกัน เกิดความยั่งยืนในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย กรณี เช่น มีแผลกดทับ ข้อติดแข็ง ให้อาหารทางสายยาง ฯลฯ โดยวิชาชีพเฉพาะทาง ได้แก่ นักกายภาพ นักโภชนาการ พยาบาลวิชาชีพ

วันที่ 27 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย กรณีติดบ้าน/ติดเตียง เช่น มีแผลกดทับ ข้อติดแข็ง ให้อาหารทางสายยาง คาสายสวนปัสสาวะ ระหว่างวันที่ 12,17,19,24,26 กรกฎาคม 2561 ณ บ้านผู้ป่วย กล่มติดบ้าน/ติดเตียง ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน  10 ราย
  2. พร้อมติดตามประเมิลผลทักษะที่ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 3 ครั้ง ณ บ้านผู้ป่วยกลุ่มติดบ้าน/ติดเตียง ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน 10 ราย ดังกล่าว เพื่อประเมินทักษะการปฏิบัติการอีกทั้งเป็นการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจของการดูแลบุคคลอันเป็นที่รักของผู้เข้ารับการอบม โดยผลการประเมินผู้ดูแลหลักมีความสุข มีความมั่นคง ในการลงมือปฏิบัติมากขึ้น เมื่อมีการเข้าไปประเมินทุกคร้ังจะได้รับคำขอบคุณทุกครั้งที่จัดกิจกรรมดีดีแบบนี้ขึ้นมา ขอบคุณทีมผู้บริหารเทศบาลที่สนับสนุนตลอดถึงเจ้าหน้าที่ร่วมลงดำเนินงานทุกท่าน พร้อมด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม เป็นกำลังใจให้กับบุคลากรในการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความมั่งมั่น และมีเจตคติในการดูแลบุคคลอันเป็นที่รักเพื่อให้กลับคืนสู่สภาพปกติและหรือสามารถพึ่งพาตัวเองได้ตามรายกรณี และเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ ร้อยละ 100
  2. ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะตลอดถึงมีความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียงรายกรณี
  3. เกิดความเข้มแข็งของผู้ดูแลหลักในชุมชน และสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียงรายกรณี ได้อย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ
    จุดเด่นของการสนับสนุนโครงการ
  4. โครงการได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์
  5. โครงการได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารของเทศบาลเมืองคอหงส์เป็นอย่างดี
  6. โครงการได้รับความสนใจจากผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงรายกรณี ในชุมชนเป็นอย่างดี และได้รับการความร่วมมือเข้ารับการอบรมเป็นอย่างมาก
  7. การดำเนินโครงการมีความโดดเด่นที่ทีมสุขภาพเข้าไปให้ข้อมูลสุขภาพเป็นพี่เลี้ยงการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียงเฉพาะรายกรณีถึงที่พำนักคือบ้าน โดยปกติการที่ผู้ดูแลหลัก จะออกมาเพื่อเข้ารับการอบรมในสถานที่จัดอื่น ๆ เพื่อให้ความรู้  มักไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควรเนื่องจากไม่สามารถออกมาร่วมกิจกรรมได้ตลอดการอบรม

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการดูแลผู้ป่วยเฉพาะรายกรณีติดบ้านติดเตียง เช่น มีแผลกดทับ ข้อติดแข็ง ให้อาหารสายยาง คาสายสวนปัสสาวะ ระหว่างวันที่ 12,17,19,24,26 กรกฎาคม 2561 ณ บ้านผู้ป่วยกลุ่มติดบ้าน/ติดเตียงในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จำนวน 10 ราย เป็นการไปสอนให้ข้อมูล ความรู้การดูแลในเรื่องโภชนาการ/การดูแลป้องกันการเกิดแผลกดทับ/การดูแลด้านกายภาพบำบัด ให้กับผู้ดูแลหลักที่บ้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรค อาการและการแสดงการดูแลเบื้องต้นและทักษะที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย
ตัวชี้วัด : 1. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการดูแลผู้ป่วยติดเตียงแก่ผู้ดูแลให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องด้วยความมั่นใจและปลอดภัย ร้อยละ 100
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทางการเคลื่อนไหว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและสามารถดูแลอุปกรณ์ติดตัวอย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อ และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการดูแลผู้ปวยติดเตียงแก่ผู้ดูแลให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องและปลอดภัยในเรื่องการดูแลอุปกรณ์ที่ติดตัวของผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ชุมชนมความเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถและรองรับสถานการณ์ผูู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดความเข้มแข็งในชุมชน สามารถสร้างเครือข่ายเพื่อช่วยเหลือ เกิดความยั่งยืนในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 18
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 18
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในพยาธิสภาพของโรค อาการและการแสดงการดูแลเบื้องต้นและทักษะที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ดูแลประจำครอบครัวสามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยทางการเคลื่อนไหว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและสามารถดูแลอุปกรณ์ติดตัวอย่างถูกต้อง ปลอดเชื้อ และมีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ชุมชนมความเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถและรองรับสถานการณ์ผูู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว (2) ติดตามประเมินผลทักษะที่ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างสมรรถนะของผู้ดูแลประจำครอบครัว จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7257-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชมัยพรแก้วศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด