กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ3ส ตำบลห้วยแก้ว ”

รพ.สต.ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางสำลี ว่างเว้น

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ3ส ตำบลห้วยแก้ว

ที่อยู่ รพ.สต.ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ 303 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ3ส ตำบลห้วยแก้ว จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ3ส ตำบลห้วยแก้ว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ3ส ตำบลห้วยแก้ว " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ 303 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายรัฐบาลในการสร้างหลักประกันสุขภาพ  ให้คนไทยห่างไกลโรคมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นอีกทั้งยังช่วยสร้างความมั่นใจ และลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของตนเองและครอบครัว  โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ “ สร้างนำซ่อม” ประกอบกับคณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการ แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ. ศ. 2554 – 2563 ให้หน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ใช้แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยเป็นกรอบในการพัฒนาวิถีชีวิตไทย ให้คนไทยมีสุขภาพดีสู่การปฏิบัติในการลดภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการลดอัตราตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายระดับบุคคลครอบครัว สังคม จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายให้การสนับสนุนบทบาทของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและยกระดับการพัฒนาระบบสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน โดยมุ่งเน้นเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตในอันดับต้นของประเทศ ถ้าประชาชนมีการป้องกันและดูแลสุขภาพด้วยตนเองตั้งแต่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี การเลือกรับประทานอาหาร การหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การออกกำลังกายและมี    องค์ความรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร เน้นการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วย 3อ3ส ซึ่งประกอบด้วยเรื่อง อาหารดีมีการออกกำลังกาย อารมณ์ดี  งดสูบบุหรี่ งดเสพสุรา หลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากพฤติกรรมไม่เหมาะสม และ จากผลสำรวจพฤติกรรม 3อ3ส ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัดพิจิตรพบว่ามีพฤติกรรม 3อ3ส ไม่เหมาะสมร้อยละ 54.16 (มีความรู้แต่ไม่ตระหนัก) มีพฤติกรรมด้านอาหารเหมาะสมร้อยละ 27.30 พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมได้แก่ กินผักผลไม้สดและกากใยน้อย กินอาหารจานเดียว อาหารไขมันสูง อาหารสำเร็จรูป พฤติกรรมด้านการออกกำลังกายเหมาะสมร้อยละ 7.37 พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมได้แก่ ไม่ชอบออกกำลังกาย ออกกำลังกายโดยการทำงานบ้าน  ไม่มีเวลาออกกำลังกาย ไม่มีสถานที่ออกกำลังกาย พฤติกรรมด้านอารมณ์เหมาะสมร้อยละ 34.70 พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมได้แก่ คิดมาก ขาดการมองโลกในแง่ดี เครียดง่าย ส่วนพฤติกรรมการสูบบุหรี่คิดเป็นร้อยละ 88.33 มีการดื่มสุราร้อยละ 82.2 6 พฤติกรรมด้านการป้องกันอุบัติเหตุ เหมาะสมร้อยละ 27.15 พฤติกรรมด้านอาหารปลอดภัยเหมาะสมร้อยละ 50.75 พฤติกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและภัยสุขภาพเหมาะสมร้อยละ 39.92 ในส่วนของบุคลากรสาธารณสุขพบว่าภาพรวมพฤติกรรม 3อ3ส อยู่ในอยู่ ในระดับดีร้อยละ 79.01 อยู่ในระดับปานกลาง  ร้อยละ 20.89 ไม่เหมาะสมร้อยละ 0.1 ในภาพรวมของอำเภอบึงนารางมีอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานร้อยละ 0.47 อัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 1.28 และยังมีกลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพียงร้อยละ 22.88 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพียงร้อยละ 20.21

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยแก้ว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก    3อ3ส เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีบุคลากรสาธารณสุขเป็นต้นแบบเพื่อให้อัตราป่วยและตายด้วยโรคที่เป็นปัญหาของจังหวัดลดลง กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
  3. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุมชี้แจงเตรียมการ
  2. การดำเนินกิจกรรมให้ความรู้ด้านการเคลื่อนไหวทางกายและอาหารเพื่อสุขภาพ
  3. สรุปติดตามผลดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและได้รับการค้นหาภาวะเสี่่ยงของโรคเบาหวานและความดัน 2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เริ่องโรค 3.กลุ่มเสี่ย่งต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ3ส 4.อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมชี้แจงเตรียมการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.การประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ 2.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 3.การเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลห้วยแก้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 2. เสนอโครงการขอรับจัดสรรงบประมาณ

 

43 0

2. การดำเนินกิจกรรมให้ความรู้ด้านการเคลื่อนไหวทางกายและอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.การประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่่อนไหวทางร่างกาย 2.การจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางร่างกาย 3.การจัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับประโยชน์การเคลื่อนไหวทางร่างกาย อาหารที่ดีต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่่อนไหวทางร่างกาย 2.ได้ปฏิบัติการเคลื่อนไหวทางร่างกาย 3.ได้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับประโยชน์การเคลื่อนไหวทางร่างกาย อาหารที่ดีต่อสุขภาพ

 

2,240 0

3. สรุปติดตามผลดำเนินงานโครงการ

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.การติดตามและการประเมินผลหลังการอบรม  6 เดือน 2.สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ทราบผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ เกี่ยวกับการนำควมรู้ความเข้าใจไปใช้ในการออกกำลังกาย
  2. รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบ

 

43 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
75.00 70.00

 

2 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
30.00

 

3 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
55.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน (3) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมชี้แจงเตรียมการ (2) การดำเนินกิจกรรมให้ความรู้ด้านการเคลื่อนไหวทางกายและอาหารเพื่อสุขภาพ (3) สรุปติดตามผลดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ3ส ตำบลห้วยแก้ว จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ 303

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสำลี ว่างเว้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด