กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ 5 มิติกับการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรัญญาพรหมวิจิตรหัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา

ชื่อโครงการ โครงการ 5 มิติกับการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 5 มิติกับการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 5 มิติกับการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 5 มิติกับการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของประเทศไทยพบการเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคต่าง ๆทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อเช่นโรคหัวใจและหลอดเลือดเบาหวานความดันโลหิตสูงมะเร็งอุบัติเหตุและโรคอุบัติต่าง ๆซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชน จากการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลารพ.สงขลาพบปัญหาที่สำคัญใน6กลุ่มโรคคือกลุ่มโรคไม่ติดต่อ(เบาหวานความดันโลหิตสูงไตวาย หัวใจและหลอดเลือดสมองมะเร็งเต้านมมะเร็งปากมดลูก)กลุ่มแม่และเด็ก (หญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่พร้อมฝากครรภ์ไม่ได้มาตรฐานภาวะซีด ลูกน้ำหนักน้อย)กลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี(งานภูมิคุ้มกันโรคพัฒนาการเด็กน้ำหนักน้อย)กลุ่มผู้สูงอายุ(การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุต่อเนื่อง)กลุ่มโรคติดต่อไข้เลือดออกอุจจาระร่วง ไทฟอยด์วัณโรคกลุ่มพิการ-จิตเวชและกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองทั้งในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและครบทุกมิติตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์จนถึงระยะท้ายของชีวิตซึ่งต้องดูแลทุกระยะตลอดชีวิตตั้งแต่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยทีมสุขภาพ ที่มีความเข้าใจ ตั้งใจมั่นใจในการให้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน จนเกิดความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ ความศรัทธาและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชนในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วม ของเทศบาลนครสงขลา ภาคประชาชนต่างๆ รวมทั้งการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมเป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกายจิตใจวิญญาณและสังคมที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกันศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา รพ.สงขลาร่วมกันดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง7ชุมชนให้ได้รับบริการขั้นพื้นฐานของชีวิตมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและเหมาะสมตามกลุ่มวัยอายุครบทั้ง5มิติ มิติด้านส่งเสริมสุขภาพ มิติด้านป้องกันควบคุมโรค มิติด้านรักษาพยาบาล มิติด้านฟื้นฟูสุขภาพ และมิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา รพ.สงขลามีประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบประมาณ5,650คน2,238ครัวเรือนซึ่งประชาชนเหล่านี้ต้องได้รับบริการด้านสาธารณสุขทั้งเชิงรุกในชุมชนและเชิงรับในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาโดยมีผลงานการให้บริการย้อนหลัง3ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
  3. 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนได้รับบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมมีความพึงพอใจเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลและพึ่งตนเองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
    2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาในชุมชน(งานภาคประชาชน)
        จำนวน 4 ครั้ง คือวันที่ 23 พ.ค. 2561,29 มิ.ย. 2561, 10 ส.ค.2561 และ23 ส.ค.2561
    3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (มารดาตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง) จำนวน 4 ครั้ง
        คือวันที่ วันที่ 5 ก.ค.2561,12 ก.ค.2561 ,26 ก.ค.2561 และ16 ส.ค.2561
    4. กิจกรรมการคัดกรองสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการ พัฒนาการ วัคซีนในชุมชน(ติดตามเยี่ยมส่งเสริม                สุขภาพเชิงรุกในชุมชน) จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 25 มิถุนายน 2561 ,13 ก.ค.2561 ,17 ก.ค.2561, 23 ก.ค. 2561 , 3 ส.ค.2561 และ 10 ส.ค.2561
    5. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน จำนวน 7 ชุมชน คือ วันที่ 10 ก.ค.2561,13 ก.ค.2561,20 ก.ค. 2561,14 ส.ค.2561
    6. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยเรื้อรัง   ราย ใหม่  จำนวน3 ครั้ง คือ วันที่ 18 พ.ค.2561,29 มิ.ย.2561 และ10 ส.ค.2561
    7. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 3 ครั้ง คือ วันที่ 9 พ.ค.2561,13 มิ.ย.2561และ   8 ส.ค.2561
    8. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่
    9. กิจกรรมจัดฐานเรียนรู้ 5 สี บอกวิถีโรคแทรกซ้อน วันที่ 24 ส.ค.2561
    10. กิจกรรมประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน 6 ครั้ง คือ วันที่ 30 มิ.ย. 2561 ,5 ก.ค. 2561,   20 ก.ค.2561, 23-24 ก.ค.2561และ27 ก.ค. 2561 ใช้แบบประเมินคุณภาพชีวิตของWHO ผลการประเมิน ร้อยละ 94.16 มีคุณภาพชีวิตโดยรวมระดับกลางๆ ร้อยละ 4.17 มีคุณภาพชีวิตที่ดี
    11. กิจกรรมการตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ(งานคุ้มครองผู้บริโภค) จำนวน 5 วัน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.ร้อยละ90 ของเด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 3.ร้อยละ93 ของเด็กอายุ0-5 ปีพัฒนาการสมวัย 4.ร้อยละ90 ของประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ 5.ร้อยละ80 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    0.00 100.00

    1.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ทั้งหมด ...รายได้รับการดูแลตามมาตรฐาน(ฝากครรภ์5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100 และไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์จำนวน 28 ราย/ร้อยละ 93.33 3.จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.24 4. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพร้อยละ 82.60

    2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 6.ร้อยละ5 ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 7.ร้อยละ90 ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่PCUได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค 8.ร้อยละ5ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
    0.00 100.00

    5.กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ100 6. อัตราการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ DM11 ราย คิดเป็นร้อยละ3.84(ทั้งหมด286) HT13 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.16(ทั้งหมด312)

    3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : 9.ร้อยละ80หญิงอายุ30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 10.ร้อยละ20หญิงอายุ30 – 60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 11.ร้อยละ80 ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
    0.00 100.00
    1. . ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU.ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรคคิดเป็นร้อยละ100 (จำนวนผู้ป่วยที่รับยาในโครงการ 19 ราย ได้รับการตรวจเลือดทั้งหมด)
    2. . ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่คิดเป็นร้อยละ0.6 /จำนวน5ราย(ทั้งหมด 838 ราย)

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1640
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2.  เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (3) 3.  เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ 5 มิติกับการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบองค์รวม ในศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-1-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรัญญาพรหมวิจิตรหัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด