โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดอาซีรัฟปูหัด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5306-2-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5306-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน “ยาเสพติด” เป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลทุกยุคสมัยเร่งดำเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหา ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในทุกด้าน ซึ่งยาเสพติดเป็นบ่อเกิดของปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย เช่น อาชญากรรม ปัญหาค้าประเวณี และปัญหาการพนัน เป็นต้น โดยสถานการณ์ปัจจุบันเยาวชน หรือวัยรุ่น อายุระหว่าง 13-25 ปี เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของนักค้ายาเสพติด และเป็นกลุ่มที่ใช้ยาเสพติดมากที่สุด ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกชักชวนให้หลงผิดได้ง่าย เนื่องจากเยาวชนยังขาดความรู้ การตระหนักคิดอย่างเพียงพอ จึงหลงผิดเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ง่ายกว่ากลุ่มอื่นๆ อีกทั้งยาเสพติดหาซื้อได้ง่ายตามสถานที่ต่างๆ แม้กระทั่งในโรงเรียน ซึ่งปัญหายาเสพติดถือว่าเป็นปัญหาสำคัญ เป็นอุปสรรคในการพัฒนา ทำลายเยาวชนและทำลายความมั่นคงของชาติ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการขยายตัวของเมืองทำให้ความเจริญทางด้านวัตถุต่างๆ เข้าถึงชุมชนมากจนเกิดความทันสมัย แต่กลับส่งผลให้ยาเสพติดเข้าสู่ชุมชนชนบทได้ง่ายและมากขึ้นตามด้วย
เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคต และเป็นพลัง ในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณ ของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆตามมาอีกมากมาย ส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้รัฐบาลได้มีนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามยุทธศาสตร์ 5 รั้วป้องกัน คือ 1.รั้วชายแดน 2.รั้วชุมชน 3.รั้วสังคม 4.รั้วครอบครัว และ 5.รั้วโรงเรียน ซึ่งจาก ทั้ง 5 รั้วป้องกันนี้จะเห็นได้ว่า รั้วเยาวชนและรั้วโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นรากฐานและเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ และปัญหายาเสพติดจากสถานการณ์ปัจจุบัน ยังคงเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลได้กำหนดให้ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน ยาเสพติดเด็กและเยาวชนเป็นหมาย ของขบวนการยาเสพติด เนื่องจากเป็นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งปัจจัยจากตนเอง คือ เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ ต้องการค้นหา สร้างตัวตน สร้างการยอมรับ มีแรงผลักดันทางอารมณ์สูง กล้าเสี่ยง กล้าทำสิ่งท้าทาย จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลง การแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของสิ่งเสพติด จะต้องดำเนินการ การสอนหรือฝึก ให้เด็กมีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจและสามารถเผชิญกับปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสมซึ่งตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 ที่มุ่งเน้นการส่งเสริม การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคม ในปัจจุบันรวมทั้งในองค์กรเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลตำมะลัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตำมะลัง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน จึงได้จัด “โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด” เพื่อให้เยาวชนได้รับองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด และเสริมสร้างความตระหนักให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด และสามารถป้องกันตัวเองในการเข้าถึงยาเสพติดทุกประเภท
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจประเภทของยาเสพติด และให้เยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยหรือโทษของยาเสพติด
- เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชนในการป้องกันปัญหาและห่างไกลจากยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของปัญหายาเสพติด
- เพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
- เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันแก้ไขปัญหา และต่อต้านยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
- เยาวชนได้ตระหนักเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติด และรู้จักวิธีการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
วันที่ 20 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.บรรยายเรื่อง "สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน"
2.บรรยายเรื่อง "ชนิดและลักษณะของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในประเทศไทย"
3.บรรยายเรื่อง "การสร้างความตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด"
4.Work Shop เยาวชนกับยาเสพติด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับโทษยาเสพติด
2.ช่วยกันรณรงค์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติด
3.สำนึกในหน้าที่และบทบาทหน้าที่ตนเอง
98
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจประเภทของยาเสพติด และให้เยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยหรือโทษของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม
0.00
2
เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชนในการป้องกันปัญหาและห่างไกลจากยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันแก้ไขปัญหา และต่อต้านยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจประเภทของยาเสพติด และให้เยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยหรือโทษของยาเสพติด (2) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชนในการป้องกันปัญหาและห่างไกลจากยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของปัญหายาเสพติด (3) เพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ (4) เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันแก้ไขปัญหา และต่อต้านยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5306-2-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูฮำหมัดอาซีรัฟปูหัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดอาซีรัฟปูหัด
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5306-2-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5306-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน “ยาเสพติด” เป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลทุกยุคสมัยเร่งดำเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหา ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในทุกด้าน ซึ่งยาเสพติดเป็นบ่อเกิดของปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย เช่น อาชญากรรม ปัญหาค้าประเวณี และปัญหาการพนัน เป็นต้น โดยสถานการณ์ปัจจุบันเยาวชน หรือวัยรุ่น อายุระหว่าง 13-25 ปี เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของนักค้ายาเสพติด และเป็นกลุ่มที่ใช้ยาเสพติดมากที่สุด ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกชักชวนให้หลงผิดได้ง่าย เนื่องจากเยาวชนยังขาดความรู้ การตระหนักคิดอย่างเพียงพอ จึงหลงผิดเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ง่ายกว่ากลุ่มอื่นๆ อีกทั้งยาเสพติดหาซื้อได้ง่ายตามสถานที่ต่างๆ แม้กระทั่งในโรงเรียน ซึ่งปัญหายาเสพติดถือว่าเป็นปัญหาสำคัญ เป็นอุปสรรคในการพัฒนา ทำลายเยาวชนและทำลายความมั่นคงของชาติ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการขยายตัวของเมืองทำให้ความเจริญทางด้านวัตถุต่างๆ เข้าถึงชุมชนมากจนเกิดความทันสมัย แต่กลับส่งผลให้ยาเสพติดเข้าสู่ชุมชนชนบทได้ง่ายและมากขึ้นตามด้วย
เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคต และเป็นพลัง ในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณ ของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆตามมาอีกมากมาย ส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้รัฐบาลได้มีนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามยุทธศาสตร์ 5 รั้วป้องกัน คือ 1.รั้วชายแดน 2.รั้วชุมชน 3.รั้วสังคม 4.รั้วครอบครัว และ 5.รั้วโรงเรียน ซึ่งจาก ทั้ง 5 รั้วป้องกันนี้จะเห็นได้ว่า รั้วเยาวชนและรั้วโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นรากฐานและเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ และปัญหายาเสพติดจากสถานการณ์ปัจจุบัน ยังคงเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลได้กำหนดให้ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน ยาเสพติดเด็กและเยาวชนเป็นหมาย ของขบวนการยาเสพติด เนื่องจากเป็นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งปัจจัยจากตนเอง คือ เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ ต้องการค้นหา สร้างตัวตน สร้างการยอมรับ มีแรงผลักดันทางอารมณ์สูง กล้าเสี่ยง กล้าทำสิ่งท้าทาย จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลง การแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของสิ่งเสพติด จะต้องดำเนินการ การสอนหรือฝึก ให้เด็กมีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจและสามารถเผชิญกับปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสมซึ่งตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 ที่มุ่งเน้นการส่งเสริม การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคม ในปัจจุบันรวมทั้งในองค์กรเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลตำมะลัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตำมะลัง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน จึงได้จัด “โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด” เพื่อให้เยาวชนได้รับองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด และเสริมสร้างความตระหนักให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด และสามารถป้องกันตัวเองในการเข้าถึงยาเสพติดทุกประเภท
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจประเภทของยาเสพติด และให้เยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยหรือโทษของยาเสพติด
- เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชนในการป้องกันปัญหาและห่างไกลจากยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของปัญหายาเสพติด
- เพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
- เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันแก้ไขปัญหา และต่อต้านยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ
- เยาวชนได้ตระหนักเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติด และรู้จักวิธีการป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด |
||
วันที่ 20 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.บรรยายเรื่อง "สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบัน" 2.บรรยายเรื่อง "ชนิดและลักษณะของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในประเทศไทย" 3.บรรยายเรื่อง "การสร้างความตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด" 4.Work Shop เยาวชนกับยาเสพติด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ได้รับความรู้เกี่ยวกับโทษยาเสพติด 2.ช่วยกันรณรงค์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติด 3.สำนึกในหน้าที่และบทบาทหน้าที่ตนเอง
|
98 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจประเภทของยาเสพติด และให้เยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยหรือโทษของยาเสพติด ตัวชี้วัด : ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชนในการป้องกันปัญหาและห่างไกลจากยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันแก้ไขปัญหา และต่อต้านยาเสพติด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจประเภทของยาเสพติด และให้เยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยหรือโทษของยาเสพติด (2) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชนในการป้องกันปัญหาและห่างไกลจากยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของปัญหายาเสพติด (3) เพื่อปลูกจิตสำนึกของเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคม ตลอดจนความมั่นคงของชาติ (4) เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนในการป้องกันแก้ไขปัญหา และต่อต้านยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนตำมะลังรุ่นใหม่ ร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5306-2-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูฮำหมัดอาซีรัฟปูหัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......