กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ”
ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายนิรันดร์แวจูนา




ชื่อโครงการ โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61L70080104 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61L70080104 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจพบว่า ประชาชนในเขตตำบลบางปู มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควรซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญของครอบครัว ได้แก่ การเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดขา โรคกระเพาะ ปัญหาโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและปัญหาสุขภาพจิตซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาสุขภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวในด้านการใช้ชีวิตประจำวันการประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่าย และด้านจิตใจซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย พบว่าครอบครัวส่วนใหญ่ จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดีนอกจากนี้ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ เป็นต้นซึ่งถ้ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้นทั้งที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้ ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากผู้ป่วยขาดความรู้ หมดกำลังใจ ท้อแท้ผู้ดูแลขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือชุมชนขาดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟู และจากข้อมูลพบว่า ผู้ป่วยเรื้อรัง หรือผู้พิการที่ถูกส่งตัวกลับมารักษาตัวต่อที่บ้านจากโรงพยาบาลจึงมักเกิดปัญหาว่ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง ผู้พิการเกิดความพิการมากขึ้น เกิดแผลกดทับมากขึ้น ต้องเสียเงิน เสียเวลา พากลับไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลเหมือนเดิมดังนั้น ถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนและครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้และมีระบบการเฝ้าระวัง ดูแลปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรังและของผู้พิการ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู จำนวนหมู่บ้านรับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน (8 ชุมชน) จำนวนประชากร10,298 คน เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียม จึงมีความจำเป็นที่จะพัฒนานักสุขภาพครอบครัว(นสค.) และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม.)เพื่อเป็น “หมอประจำครอบครัว” ที่จะร่วมกันพัฒนาระบบการออกเยี่ยมบ้านทุกครัวเรือน ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูล รายครัวเรือน รวมเป็น CommunityFolder ของหมู่บ้านให้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้ โดยสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมมากที่สุด ด้วยกระบวนการ คืนข้อมูลชุมชนตลอดจน ร่วมสรุป วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนแก้ไขปัญหาโดยสร้างให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทุกกลุ่มองค์กร ที่มีในหมู่บ้านชุมชน โดยคาดหวังว่าระบบสุขภาพชุมชน จะมีประสิทธิภาพ สามารถดูแลประชาชนให้บรรลุเป้าหมายตามที่คาดหวัง ซึ่งจะเห็นได้ว่า จำนวนบุคลากรสาธารณสุขมีไม่เพียงพอแก่การให้บริการ โดยเฉพาะการให้บริการในชุมชนซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่ยังเข้าไปไม่ถึง แต่เนื่องจากยังมีองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน อีกมากมายที่ถ้าได้มีการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง หรือผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสในชุมชนได้ น่าจะเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวผู้ป่วยและผู้พิการดังนั้น โครงการนี้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ของครอบครัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง โดยมีบุคลากรสาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูร่างกาย ได้อย่าง ถูกต้องตามเกณฑ์ โดยแกนนำที่ผ่านการอบรม
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเรื่องการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน
  4. เพื่อให้แกนนำหมอครอบครัว ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและผู้พิการในครอบครัวหรือในชุมชน
  5. เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบข้อมูลของตนเอง ร่วมกันจัดทำแผนงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชนทำให้ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว) การเยี่ยมบ้านและจัดการสุขภาพ
  2. กิจกรรม สำรวจข้อมูลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อจัดทำฐานข้อมูล Community Folder
  3. จัดเวทีถอดบทเรียนการทำงานและผลการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่าง แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว)เจ้าหน้าที่ และตัวแทน ครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนมีความรู้และมีกำลังใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ๒. หมอครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในชุมชนได้ ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชน ๔. อัตราความรุนแรงของโรคลดลง อัตราความพิการลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว) การเยี่ยมบ้านและจัดการสุขภาพ

วันที่ 23 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพ แกนนำสุขภาพ เป็น หมอครอบครัว การจัดการสุขภาพและเยี่ยมบ้าน  โดยมีเนื้อหาการอบรมดังนี้ - ชี้แจงวัตถุประสงค์ - กำหนดบทบาทหน้าที่ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่กับ แกนนำสุขภาพ ( หมอครอบครัว) - เครื่องมือและสำรวจการเก็บข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย ในเขตที่รับผิดชอบ - ฝึกทักษะการฟัง การเขียน การพูด
- ทักษะ การประเมินการเจ็บป่วย และการเยี่ยมบ้าน - สรุป วิเคราะห์ ประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว) สามารถดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในชุมชนได้

 

74 0

2. กิจกรรม สำรวจข้อมูลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อจัดทำฐานข้อมูล Community Folder

วันที่ 23 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม สำรวจข้อมูลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อจัดทำฐานข้อมูล  Community Folder  ทุกหลังคาเรือนและบันทึกลง โปรแกรม Hcis  และ ทำแผนที่เดินดิน ทำความรู้จัก แนะนำตัว “หมอครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลรายครัวเรือน  เพื่อจัดทำฐานข้อมูล Community  Folder  ได้ทำแผนที่เดินดินและ บันทึกลง โปรแกรม Hcis 

 

0 0

3. จัดเวทีถอดบทเรียนการทำงานและผลการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่าง แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว)เจ้าหน้าที่ และตัวแทน ครอบครัว

วันที่ 30 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีถอดบทเรียนการทำงานและผลการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่าง แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว)เจ้าหน้าที่ และตัวแทน ครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หมอครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการในชุมชนได้ อัตราความรุนแรงของโรคลดลง อัตราความพิการลดลง

 

74 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูร่างกาย ได้อย่าง ถูกต้องตามเกณฑ์ โดยแกนนำที่ผ่านการอบรม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเรื่องการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้แกนนำหมอครอบครัว ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและผู้พิการในครอบครัวหรือในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบข้อมูลของตนเอง ร่วมกันจัดทำแผนงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชนทำให้ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนได้รับการดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูร่างกาย ได้อย่าง  ถูกต้องตามเกณฑ์ โดยแกนนำที่ผ่านการอบรม (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยและผู้พิการในชุมชนให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในเรื่องการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน (4) เพื่อให้แกนนำหมอครอบครัว ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและผู้พิการในครอบครัวหรือในชุมชน          (5) เพื่อให้ชุมชนได้รับทราบข้อมูลของตนเอง ร่วมกันจัดทำแผนงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชนทำให้ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว) การเยี่ยมบ้านและจัดการสุขภาพ  (2) กิจกรรม สำรวจข้อมูลโดย อสม.และเจ้าหน้าที่เพื่อจัดทำฐานข้อมูล  Community Folder  (3) จัดเวทีถอดบทเรียนการทำงานและผลการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่าง แกนนำสุขภาพ (หมอครอบครัว)เจ้าหน้าที่ และตัวแทน ครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมอครอบครัวเพื่อผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61L70080104

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิรันดร์แวจูนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด