โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 ”
ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561
ที่อยู่ ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุ เป็นอีกวัยหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยสูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อร่างกายมีอายุมากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายก็จะเสื่อมสภาพ รวมทั้งเหงือกและฟันด้วย เป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2563 (กองทันตสาธารณสุข,2549) ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ ๘๐ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างน้อย ๒๐ ซี่ จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555 ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป พบว่าร้อยละ ๕๗.๘๐ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ 20 ซี่ และมีฟันคู่สบฟันหลังที่ใช้บดเคี้ยวอาหารอย่างน้อย 4 คู่ เพียงร้อยละ ๔๓.๓๐ จากการสำรวจภาวะสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุภาพรวมของอำเภอปะเหลียน พบว่าผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ ไม่น้อยกว่า20 ซี่ร้อยละ ๒๘.๑๙ มีฟันใช้งานมากกว่า 20 ซี่ ร้อยละ ๖.๕๐ มีฟันคู่สบฟันแท้ 4 คู่ขึ้นไป ร้อยละ ๔๕.๑๐ "ฟัน" จึงเป็นอวัยวะอันดับต้นๆที่เราต้องใส่ใจ ในกลุ่มผู้สูงอายุนั้น เป็นกลุ่มที่พบการสูญเสียฟันอย่างชัดเจน การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คนอาจกล่าวได้ว่า ผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร การปราศจากฟันทั้งปากซึ่งเป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างชัดเจน ดังนั้นสุขภาพช่องปากจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งกับสุขภาพโดยรวมของร่างกายโดยเฉพาะในวัยสูงอายุที่สภาพร่างกายเริ่มทรุดโทรมจากการใช้งาน การมีสุขภาพช่องปากที่ดีส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถรับประทานอาหารได้หลากหลายได้สารอาหารครบถ้วน ที่จะไปช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย สามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน ได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถดูแลสุขภาพฟันของตัวเองได้ดีขึ้น รวมทั้งการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุเครือข่ายตำบลท่าข้าม
- เพื่อให้ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม. มีความรู้ ทักษะและตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้
- เพื่อสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค้นหาปัญหาทันตสุขภาพในชุมชน 5 หมู่บ้าน "ผู้สูงอายุ ฟันดี"
- การดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว (ผู้สูงอายุ/อสม./แกนนำชุมชน)
- อบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย"
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุ อสม.มีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
- ผู้สูงอายุ อสม.ทุกคนได้รับความรู้ การตรวจสุขภาพ และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- สร้างความเข้มแข็งเพื่อเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้
- เกิดความมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทันตสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค้นหาปัญหาทันตสุขภาพในชุมชน 5 หมู่บ้าน "ผู้สูงอายุ ฟันดี"
วันที่ 14 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่สำรวจปัญหาทันตสุขภาพใน 5 หมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ชุมชน/ประชาชน/ผู้นำหมู่บ้าน
-ขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก
-ประชาชน/ผู้นำหมู่บ้านไม่ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปาก
-ขาดการมีส่วนร่วม
ฯลฯ
2.อสม.
-ขาดทักษะ องค์ความรู้ด้านงานทันตสาธารณสุข
-การประสานงานระหว่างภาคีเครือข่ายยังไม่ดี
-อสม.ไม่ให้ความสำคัญ
3.บุคลากร
-เจ้าหน้าที่ขาดการทำงานเชิงรุก
-ขาดบุคลากรในการทำงานเชิงรุก
-ขาดการควบคุมและติดตาม
4.อปท.
-ขาดนโยบายขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพช่องปาก
0
0
2. การดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว (ผู้สูงอายุ/อสม./แกนนำชุมชน)
วันที่ 2 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ควรให้ผู้สูงอายุแปรงฟันเอง หรือช่วยจับมือ
-ควรดูแลริมฝีปากโดยเฉพาะมุมปากไม่ให้แห้ง
-กรณีใส่ฟันเทียม ควรถอดออกทาความสะอาดทั้งฟันเทียมและช่องปากของผุ้สุงอายุทุกครั้ง
ฯลฯ
0
0
3. อบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย"
วันที่ 9 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย"
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแล/อสม. ประจำครัวเรือนในตำบลท่าข้าม ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 100%
-ผู้สูงอายุที่พบปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการบริการทันตกรรมตามความเหมาะสม
-ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวและอสม.ประจำครัวเรือนในเขตตำบลท่าข้ามมีความรู้ ความเข้าใจ
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุเครือข่ายตำบลท่าข้าม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ๑๐๐ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแล และอสม. มีการพัฒนาความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
0.00
2
เพื่อให้ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม. มีความรู้ ทักษะและตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ไม่ต่ำกว่า๘๐ ผู้สูงอายุ /ญาติผู้ดูแล และอสม.มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
0.00
3
เพื่อสร้างความเข้มแข็งเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละไม่ต่ำกว่า ๘๐
-ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม.ได้รับการตรวจสุขภาพและฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
-เป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองและสามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้
0.00
4
เพื่อสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดความร่วมมือในการแก้ปัญหาระหว่างทันตบุคลากรผู้นำชุมชน อสม. ผู้สูงอายุ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุเครือข่ายตำบลท่าข้าม (2) เพื่อให้ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม. มีความรู้ ทักษะและตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (3) เพื่อสร้างความเข้มแข็งเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้ (4) เพื่อสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาปัญหาทันตสุขภาพในชุมชน 5 หมู่บ้าน "ผู้สูงอายุ ฟันดี" (2) การดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว (ผู้สูงอายุ/อสม./แกนนำชุมชน) (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย"
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 ”
ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล
กันยายน 2561
ที่อยู่ ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ผู้สูงอายุพื้นที่หมู่ที่ 1, 5, 6, 8 และ 9 ต.ท่าข้าม อ.ปะเหลียน จ.ตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุ เป็นอีกวัยหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยสูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อร่างกายมีอายุมากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายก็จะเสื่อมสภาพ รวมทั้งเหงือกและฟันด้วย เป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2563 (กองทันตสาธารณสุข,2549) ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ ๘๐ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างน้อย ๒๐ ซี่ จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555 ในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป พบว่าร้อยละ ๕๗.๘๐ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้ 20 ซี่ และมีฟันคู่สบฟันหลังที่ใช้บดเคี้ยวอาหารอย่างน้อย 4 คู่ เพียงร้อยละ ๔๓.๓๐ จากการสำรวจภาวะสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุภาพรวมของอำเภอปะเหลียน พบว่าผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ ไม่น้อยกว่า20 ซี่ร้อยละ ๒๘.๑๙ มีฟันใช้งานมากกว่า 20 ซี่ ร้อยละ ๖.๕๐ มีฟันคู่สบฟันแท้ 4 คู่ขึ้นไป ร้อยละ ๔๕.๑๐ "ฟัน" จึงเป็นอวัยวะอันดับต้นๆที่เราต้องใส่ใจ ในกลุ่มผู้สูงอายุนั้น เป็นกลุ่มที่พบการสูญเสียฟันอย่างชัดเจน การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คนอาจกล่าวได้ว่า ผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร การปราศจากฟันทั้งปากซึ่งเป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างชัดเจน ดังนั้นสุขภาพช่องปากจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งกับสุขภาพโดยรวมของร่างกายโดยเฉพาะในวัยสูงอายุที่สภาพร่างกายเริ่มทรุดโทรมจากการใช้งาน การมีสุขภาพช่องปากที่ดีส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถรับประทานอาหารได้หลากหลายได้สารอาหารครบถ้วน ที่จะไปช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย สามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน ได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถดูแลสุขภาพฟันของตัวเองได้ดีขึ้น รวมทั้งการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุเครือข่ายตำบลท่าข้าม
- เพื่อให้ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม. มีความรู้ ทักษะและตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้
- เพื่อสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค้นหาปัญหาทันตสุขภาพในชุมชน 5 หมู่บ้าน "ผู้สูงอายุ ฟันดี"
- การดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว (ผู้สูงอายุ/อสม./แกนนำชุมชน)
- อบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย"
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุ อสม.มีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
- ผู้สูงอายุ อสม.ทุกคนได้รับความรู้ การตรวจสุขภาพ และฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- สร้างความเข้มแข็งเพื่อเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้
- เกิดความมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทันตสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค้นหาปัญหาทันตสุขภาพในชุมชน 5 หมู่บ้าน "ผู้สูงอายุ ฟันดี" |
||
วันที่ 14 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่สำรวจปัญหาทันตสุขภาพใน 5 หมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ชุมชน/ประชาชน/ผู้นำหมู่บ้าน -ขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก -ประชาชน/ผู้นำหมู่บ้านไม่ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปาก -ขาดการมีส่วนร่วม ฯลฯ 2.อสม. -ขาดทักษะ องค์ความรู้ด้านงานทันตสาธารณสุข -การประสานงานระหว่างภาคีเครือข่ายยังไม่ดี -อสม.ไม่ให้ความสำคัญ 3.บุคลากร -เจ้าหน้าที่ขาดการทำงานเชิงรุก -ขาดบุคลากรในการทำงานเชิงรุก -ขาดการควบคุมและติดตาม 4.อปท. -ขาดนโยบายขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพช่องปาก
|
0 | 0 |
2. การดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว (ผู้สูงอายุ/อสม./แกนนำชุมชน) |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ควรให้ผู้สูงอายุแปรงฟันเอง หรือช่วยจับมือ -ควรดูแลริมฝีปากโดยเฉพาะมุมปากไม่ให้แห้ง -กรณีใส่ฟันเทียม ควรถอดออกทาความสะอาดทั้งฟันเทียมและช่องปากของผุ้สุงอายุทุกครั้ง ฯลฯ
|
0 | 0 |
3. อบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย" |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย" ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแล/อสม. ประจำครัวเรือนในตำบลท่าข้าม ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 100% -ผู้สูงอายุที่พบปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการบริการทันตกรรมตามความเหมาะสม -ผู้สูงอายุ/ผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวและอสม.ประจำครัวเรือนในเขตตำบลท่าข้ามมีความรู้ ความเข้าใจ
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุเครือข่ายตำบลท่าข้าม ตัวชี้วัด : ร้อยละ๑๐๐ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแล และอสม. มีการพัฒนาความรู้ ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม. มีความรู้ ทักษะและตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ ไม่ต่ำกว่า๘๐ ผู้สูงอายุ /ญาติผู้ดูแล และอสม.มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างความเข้มแข็งเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละไม่ต่ำกว่า ๘๐ -ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม.ได้รับการตรวจสุขภาพและฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก -เป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองและสามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้ |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมในชุมชน ตัวชี้วัด : เกิดความร่วมมือในการแก้ปัญหาระหว่างทันตบุคลากรผู้นำชุมชน อสม. ผู้สูงอายุ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้สูงอายุเครือข่ายตำบลท่าข้าม (2) เพื่อให้ ผู้สูงอายุ/ญาติผู้ดูแลและ อสม. มีความรู้ ทักษะและตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (3) เพื่อสร้างความเข้มแข็งเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และ สามารถถ่ายทอดไปสู่ผู้สูงอายุคนอื่นๆได้ (4) เพื่อสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาปัญหาทันตสุขภาพในชุมชน 5 หมู่บ้าน "ผู้สูงอายุ ฟันดี" (2) การดูแลสุขภาพช่องปากโดยหมอครอบครัว (ผู้สูงอายุ/อสม./แกนนำชุมชน) (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ "เรียนรู้สุขภาพช่องปากผู้สูงวัย"
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......