โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 ”
ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความดันโลหิตสูงยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยในปี 2557 ประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นโรคความดันโลหิตสูงประมาณร้อยละ 25 หรือคนไทย 1 ใน 4 คน เป็นโรคความดันโลหิตสูงนั่นเองสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิต เช่น การออกกำลังกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ นำมาสู่ภาวะโรคที่เพิ่มมากขึ้น
ในปี งบประมาณ2560 จากการสำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามที่มารับบริการคลินิกเรื้อรัง ณ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน จำนวน 238คน มีผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ คือค่าความดันโลหิตสูงที่มีค่า BP สูงกว่า 140/90 mmHg จำนวน20คน คิดเป็นร้อยละ8.4 หากผู้ป่วยดูแล รักษา และควบคุมอาการของโรคที่เกิดขึ้นได้ไม่ดี ผลที่จะเกิดตามมานั้นมักจะรุนแรง จนเป็นเหตุให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา อาทิ โรคหลอดเลือดหัวใจ , โรคหลอดเลือดสมอง , โรคไตเรื้อรัง ที่อาจทำให้พิการและเสียชีวิตได้ นอกจากนั้นก็อาจจะมีเป็นโรคหลอดเลือดของจอตาและประสาทตาที่ส่งผลให้ตาบอดได้ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนได้เล็งเห็นความสำคัญของอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)ในการ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัยเป็นต้นแบบในการสร้างสุขภาพโดยการสื่อสารสร้างเสริมสุขภาพเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนนำไปสู่การพัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองประชาชน ครอบครัวและชุมชน
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่ให้บริการสุขภาพในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพที่มีสุขภาพ แบบบูรณาการและต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาสุขภาพทั้งระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน จึงได้จัดโครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
- เพื่อพัฒนาศักยภาพอสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม. ทุก 1 เดือน ติดต่อกัน 3 เดือน โดยอสม. บันทึกลงสมุดเยี่ยมบ้าน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม"
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยอสม.
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิต‹140/90 mmHg)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
วันที่ 18 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.เข้าใจบทบาทหน้าที่การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
0
0
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม"
วันที่ 25 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม"
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
40
0
3. ติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม. ทุก 1 เดือน ติดต่อกัน 3 เดือน โดยอสม. บันทึกลงสมุดเยี่ยมบ้าน
วันที่ 26 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อสม.ที่ผ่านการอบรมติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 3 เดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บันทึกข้อมูลการลงเยี่ยมบ้านในสมุดเยี่ยมบ้าน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพอสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 (โดยประเมินผลก่อน-หลัง จากแบบสอบถามของกองสุขศึกษา พฤติกรรมที่ส่งผลต่อโรคความดันโลหิตสูง)
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพอสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (2) ติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม. ทุก 1 เดือน ติดต่อกัน 3 เดือน โดยอสม. บันทึกลงสมุดเยี่ยมบ้าน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม"
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 ”
ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1480-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความดันโลหิตสูงยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยในปี 2557 ประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นโรคความดันโลหิตสูงประมาณร้อยละ 25 หรือคนไทย 1 ใน 4 คน เป็นโรคความดันโลหิตสูงนั่นเองสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิต เช่น การออกกำลังกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ นำมาสู่ภาวะโรคที่เพิ่มมากขึ้น
ในปี งบประมาณ2560 จากการสำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามที่มารับบริการคลินิกเรื้อรัง ณ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน จำนวน 238คน มีผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ คือค่าความดันโลหิตสูงที่มีค่า BP สูงกว่า 140/90 mmHg จำนวน20คน คิดเป็นร้อยละ8.4 หากผู้ป่วยดูแล รักษา และควบคุมอาการของโรคที่เกิดขึ้นได้ไม่ดี ผลที่จะเกิดตามมานั้นมักจะรุนแรง จนเป็นเหตุให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา อาทิ โรคหลอดเลือดหัวใจ , โรคหลอดเลือดสมอง , โรคไตเรื้อรัง ที่อาจทำให้พิการและเสียชีวิตได้ นอกจากนั้นก็อาจจะมีเป็นโรคหลอดเลือดของจอตาและประสาทตาที่ส่งผลให้ตาบอดได้ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนได้เล็งเห็นความสำคัญของอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)ในการ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัยเป็นต้นแบบในการสร้างสุขภาพโดยการสื่อสารสร้างเสริมสุขภาพเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนนำไปสู่การพัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองประชาชน ครอบครัวและชุมชน
ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่ให้บริการสุขภาพในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพที่มีสุขภาพ แบบบูรณาการและต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาสุขภาพทั้งระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน จึงได้จัดโครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
- เพื่อพัฒนาศักยภาพอสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- ติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม. ทุก 1 เดือน ติดต่อกัน 3 เดือน โดยอสม. บันทึกลงสมุดเยี่ยมบ้าน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม"
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยอสม.
- ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิต‹140/90 mmHg)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.เข้าใจบทบาทหน้าที่การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
|
0 | 0 |
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม" |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม" ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
|
40 | 0 |
3. ติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม. ทุก 1 เดือน ติดต่อกัน 3 เดือน โดยอสม. บันทึกลงสมุดเยี่ยมบ้าน |
||
วันที่ 26 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำอสม.ที่ผ่านการอบรมติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 3 เดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบันทึกข้อมูลการลงเยี่ยมบ้านในสมุดเยี่ยมบ้าน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพอสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 (โดยประเมินผลก่อน-หลัง จากแบบสอบถามของกองสุขศึกษา พฤติกรรมที่ส่งผลต่อโรคความดันโลหิตสูง) |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพอสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงอสม. บทบาทการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (2) ติดตามเยี่ยมบ้านโดยอสม. ทุก 1 เดือน ติดต่อกัน 3 เดือน โดยอสม. บันทึกลงสมุดเยี่ยมบ้าน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ "โดยแบ่งฐาน 3 ฐาน และใช้วิทยากรกลุ่ม"
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการจัดการแบบมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1480-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......