กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮูดาหลงตรี

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5238-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2. เพื่อสร้างเสริมอนามัยช่องปากที่ดีและบริการทาฟลูออไรด์วานิชเด็กกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยตามช่วงอายุ 30เดือน และ 42 เดือน 4. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยและมีสุขภาพช่องปากที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่


ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและพัฒนาการการเรียนรู้ หากเด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายที่ไม่สมบูรณ์ เจ็บป่วยเรื้อรัง ก็จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการเรียนรู้ การเจริญเติบโตตามวัยเพราะการเจ็บป่วยจะเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก ทำให้มีพัฒนาการต่าง ๆ ล่าช้า เช่น ร่างกายเจริญเติบโตช้า อันเนื่องมาจากโรคบางชนิด และปัญหาสำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ ปัญหาสุขภาพช่องปาก เช่น การบดเคี้ยวอาหาร โรคฟันผุ ล้วนส่งผลต่อกระบวนการเจริญเติบโตร่างกายของเด็กปฐมวัย จากการสำรวจเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวัดกระชายทะเล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิด ยามาอาตินนูร ปีการศึกษา 2560 เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 66.10 และ 69.23ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และจากการสำรวจสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย พบว่า มีอัตราโรคฟันผุ ร้อยละ 67.21 และ 60.59 โดยเด็กปฐมวัยต้องมีฟันน้ำนมผุไม่เกินร้อยละ 55
ดังนั้นเพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเจริญเติบโตสมวัยและสุขภาพช่องปากดี จึงได้จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการการเจริญเติบโตและลดการเกิดโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย รวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการร่วมมือแก้ไขปัญหาด้านการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย จะทำให้การพัฒนาความฉลาดนั้นสมบูรณ์และประสบความสำเร็จยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2. เพื่อสร้างเสริมอนามัยช่องปากที่ดีและบริการทาฟลูออไรด์วานิชเด็กกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยตามช่วงอายุ 30เดือน และ 42 เดือน 4. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยและมีสุขภาพช่องปากที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 110
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 117
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพอนามัยช่องปากที่ดี อัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง 2.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยตามช่วงอายุ 3.ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีในการเอาใจใส่ดูแลเด็กปฐมวัย 4.ครูผู้ดูแลเด็กสามารถนำความรู้ไปพัฒนากระบวนการเรียนการสอนในชั้นเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ชื่อโครงการเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ปี ๒๕๖๑ 1. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
    - เด็กปฐมวัยได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน 110 คน - เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 110 คน
    - เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 30 เดือน และ 42 เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการ จำนวน 25 คน
    - ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยและสุขภาพช่องปากที่ดี จำนวน 110 คน - ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพัฒนาการเด็กและการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก จำนวน 7 คน ผลตัวชี้วัด - เด็กปฐมวัยได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน 110 คน (เป้า 110คน) คิดเป็นร้อยละ 100 - เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 110 คน (เป้า 110 คน)คิดเป็นร้อยละ 100
    - เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 30 เดือน และ 42 เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการ จำนวน 25 คน(เป้า 25 คน)คิดเป็นร้อยละ 100 - ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยและสุขภาพช่องปากที่ดี จำนวน 110 คน(เป้า 110คน)คิดเป็นร้อยละ 100 - ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพัฒนาการเด็กและการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก จำนวน 7 คน(เป้า 7 คน)คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
    - ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครอง - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์(กระจกส่องฟัน ฟลูออไรด์วานิช พู่กันทาฟลูออไรด์ ผ้าก็อส แปรงสีฟัน) - ครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ในการตรวจพัฒนาการ (ชุดตรวจพัฒนาการ DSPM)











    • กระบวนการ

    กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - การสำรวจปัญหา





    • การสอบถาม พูดคุย กับครูผู้ดูแลเด็ก เกี่ยวกับปัญหาด้านสุขภาพของเด็กปฐมวัยในศพด.

      • ผลการตรวจสุขภาพช่องปาก
      • ผลการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเด็กปฐมวัย -แบบสำรวจสภาวะช่องปาก -แบบบันทึกการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง


    • ผู้ปกครองขาดการเอาใจใส่ดูแลและยังขาดความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและการบริโภคอาหารของเด็ก

      • เด็กปฐมวัยบางส่วนยังพบภาวะโภชนาการเกิน
      • การสำรวจ
      • กลุ่มเป้าหมาย   - เด็กปฐมวัย   - ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก   - ครูผู้ดูแลเด็ก ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายจากข้อมูลพื้นฐานศพด. ทะเบียนรายชื่อจำนวนเด็กทั้งหมดในศพด.
    • เด็กปฐมวัย จำนวน 110 คน

      • ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก จำนวน 110 คน
      • ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 7 คน -ประชาสัมพันธ์การจัดทำโครงการ - แจ้งหนังสือการจัดอบรมโครงการแก่ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก หนังสือเชิญการอบรม ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก รับทราบการจัดทำโครงการ
      • อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
      • ซักถาม พูดคุย เล่าประสบการณ์การดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
      • ฝึกปฏิบัติการตรวจสุขภาพช่องปากให้กับครูผู้ดูแลเด็ก - แบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม
      • Power Point ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
      • ครุภัณฑ์และวัสดุการดูแลสุขภาพช่องปาก - ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จำนวน 110 คน (เป้า 110 คน) คิดเป็น  ร้อยละ 100
      • ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จำนวน 7 คน (เป้า 7 คน)คิดเป็นร้อยละ 100
      • ตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์วานิช ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์วานิช - ครุภัณฑ์และวัสดุการเคลือบฟลูออไรด์วานิช - เด็กปฐมวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก จำนวน 110 คน (เป้า 110 คน) คิดเป็น  ร้อยละ 100
      • เด็กปฐมวัยได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช จำนวน 110 คน (เป้า 110 คน) คิดเป็น  ร้อยละ 100

    กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - ตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 30 เดือน และ 42 เดือน - ให้บริการตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 30 เดือน และ 42 เดือน - ชุดตรวจพัฒนาการ DSPM - เด็กปฐมวัยอายุ 30 เดือน และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 25 คน (เป้า 25 คน) คิดเป็นร้อยละ 100

    • ตรวจภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็กปฐมวัย แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง - เด็กปฐมวัยได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน 110 คน (เป้า 110 คน) คิดเป็นร้อยละ 100 -เด็กปฐมวัยสูงดี สมส่วน จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 68.18
    1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................................................................................. 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๖๘ คน
    2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... 7,675บาท  (เจ็ดพันหกร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน) งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..... 7,675บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100.................... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ...................๐..................... บาท  คิดเป็นร้อยละ............๐............
    3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี
      • ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กยังขาดการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ส่วนใหญ่จะไม่มีการแปรงฟันก่อนนอน เนื่องจากผู้ปกครองบางส่วนทำงานเลิกค่ำ และบางส่วนตายายเป็นผู้ดูแล
      • ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กยังเลือกซื้ออาหารที่ไม่เหมาะสมต่อโภชนาการเด็ก ให้เด็กปฐมวัยบริโภค
    4. ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง

    - การส่งเสริมพัฒนาและสร้างความเข้าใจแก่มารดา และผู้ดูแลเด็ก อย่างต่อเนื่องช่วยให้เกิดความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญการดูแลสุขภาพช่องปากและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - ซักถาม พูดคุย ถึงปัญหาหรืออุปสรรคการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกับผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และครูผู้ปกครอง - สร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และครูผู้ดูแลเด็กที่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ดี ไม่มีฟันผุ โดยการมอบเกียรติบัตรให้กับหนูน้อยฟันดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2. เพื่อสร้างเสริมอนามัยช่องปากที่ดีและบริการทาฟลูออไรด์วานิชเด็กกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยตามช่วงอายุ 30เดือน และ 42 เดือน 4. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยและมีสุขภาพช่องปากที่ดี
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2. เด็กเล็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมอนามัยช่องปากและเด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 80 3. เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 30 เดือน และ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90
    0.00 110.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 227
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 110
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 117
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 2. เพื่อสร้างเสริมอนามัยช่องปากที่ดีและบริการทาฟลูออไรด์วานิชเด็กกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยตามช่วงอายุ 30เดือน และ 42 เดือน 4. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยและมีสุขภาพช่องปากที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่


    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5238-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮูดาหลงตรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด