กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวิจิตราทองเกิด

ชื่อโครงการ โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5238-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5238-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัย ๔ ที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่งการบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน๕หมู่ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ นอกจากนี้ยังต้องคำนึงถึงปริมาณการบริโภคอาหารด้วย ถ้าหากบริโภคมากเกินไปจะทำให้เป็นโรคภาวะโภชนาการเกิน บริโภคน้อยเกินไปจะทำให้เป็นโรคขาดสารอาหารการบริโภคอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และไขมันมากเกินไป ก็จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือดการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุ ให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้นอาหารจะสะอาดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้คือ อาหารหรือวัตถุดิบที่นำมาปรุงสถานที่ผลิตและประกอบการด้านอาหาร เช่น ร้านอาหาร แผงลอยตลาด แผงขายอาหารสด และโรงครัวและร้านขายของชำ คนจำหน่ายคนปรุง และคนเสริฟอาหาร ตลอดจนคนทำความสะอาดภาชนะนอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอยเป็นต้น การที่จำให้อาหารสะอาด ปลอดภัยได้คุณค่าทางโภชนาการนั้นรัฐบาลจึงได้มุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นสำคัญมาตั้งแต่ปี 2548 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ นอกจากนี้รัฐบาลยังได้จัดทำโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste)และการดำเนินงานตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ รวมทั้ง อะฟลาทอกซิน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลและได้คุณค่าทางโภชนาการ
ในการดำเนินงานอาหารปลอดภัยได้คุณค่าทางโภชนาการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามเกณฑ์ชี้วัด เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำผู้บริโภคผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในกลวิธีการดำเนินงานและมีสิ่งสนับสนุน เอื้ออำนวยที่เพียงพอในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะต้องได้การสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและในการดำเนินงานดังกล่าว เพื่อการสร้างสระแสสังคม ให้ตระหนักเห็นความสำคัญของการเลือกซื้อเลือกอาหารบริโภค ที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรณรงค์ให้ความรู้ แก่ประชาชนผ่านสื่อทุกรูปแบบเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปฏิบัติตนอย่างถูกต้องต่อไป
ดังนั้น รพ.สต.ชุมพล จึงได้จัดทำโครงการ เพื่อพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและ ผู้บริโภคให้มีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสม ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหาร สะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค 2.เพื่อให้ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งแก่ผู้บริโภคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อสม.แกนนำชุมชน ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ผู้จำหน่ายอาหารสำเร็จรูปลดการใช้โฟม ส่งผลให้ จำนวนขยะลดลงและภาคีเครือข่ายเป็นแบบอย่างที่ดีในการลดการใช้โฟมในโอกาสต่าง ๆ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ชื่อ โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสสังคมการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
    ๑.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร และผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจำนวน  ๘ ร้าน
    ๒.ตรวจอาหารเพื่อหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) ในแผงลอยจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป จำนวน ๘ ร้าน ๓.ผู้ปกครองเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก/ ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน
    ๔.อสม. ผู้นำชุมชนแกนนำชุมชนหรือผู้ประกอบการแผงลอย ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน
    ๕.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร จำนวน ๓ ร้าน
    ผลตัวชี้วัด : ๑.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร ตรวจอาหารเพื่อหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) และ ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจำนวน  ๘ ร้าน ร้อยละ ๑๐๐ ๒.ผู้ปกครองเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก/ ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๒ (จำนวน ๔๒ คน) ๓.อสม. ผู้นำชุมชนแกนนำชุมชนหรือผู้ประกอบการแผงลอย ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๘ (จำนวน ๔๔ คน) ๔.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร จำนวน ๓ ร้าน ร้อยละ ๓๗.๕
        ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
          ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจสารเคมีตกค้างในตัวอย่างอาหาร  (น้ำยาSI2, แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม ( เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล)     กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - การสำรวจปัญหา


    • การเสนอแผนงาน/โครงการเพื่อใช้เงินบำรุง

      • งานคุ้มครองผู้บริโภคเป็นงานนโยบาย
    • การสำรวจข้อมูลจากรายงาน 506
    • จัดทำแผนงาน/โครงการหน้าเดียวเสนอนายแพทย์ สสจ.เพื่ออนุมัติโครงการ - การจัดเวทีประชาคม
    • รายงานผู้ป่วยทางระบาดวิทยา

    แผนงาน/โครงการหน้าเดียว

    • พบผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาเป็นอันดับ ๑ ทุกปี
      • โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากนายแพทย์ สสจ.


    กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - ประชุมคณะกรรมการ


    -ตรวจ ติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร อาหารปลอดภัย ร้านค้า แผงลอยขายอาหาร - การอบรมกลุ่มเป้าหมาย - ติดตาม นิเทศ ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหารในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน -ประชุมชี้แจงสภาพปัญหาและร่วมแสดงความคิดเห็น
    - ออกตรวจ แนะนำร้านค้า แผงลอยในพื้นที่


    -สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย - การบรรยาย - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การพูดคุย ชี้แจงปัญหาในประเด็นที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข - การจัดเวทีประชาคม - รายงานผู้ป่วยทางระบาดวิทยา

    แผนงาน/โครงการหน้าเดียว


    -หนังสือเชิญ - ประชุมและร่วมแสดงความคิดเห็น - น้ำยาSI2, แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - JHCIS, อสม. - เจ้าหน้า รพ.สต. เอกสาร แผ่นพับ - แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - พบผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาเป็นอันดับ ๑ ทุกปี
    - โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากนายแพทย์ สสจ.
    มีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๐ คน แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจ จำนวน ๘ แผง ร้อยละ ๑๐๐ - กลุ่มผู้ดูแลเด็ก ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน ร้อยละ ๑๐๐ -กลุ่ม อสม./แกนนำชุมชน/ผู้ประกอบการ ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน ร้อยละ ๑๐๐ - สรุปผลการนิเทศ
    -รายงานการตรวจร้านค้า/ แผงลอย




















    2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๑๐๐ คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... ๙,๗๕๐.. บาท (เก้าพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน)        งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..... ๙,๗๕๐.. บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100......
    งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0...............บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0.......

    1. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี ผู้ประกอบการ ร้านค้า แผงลอย ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามข้อสุขาภิบาล ส่วนใหญ่มีความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหารและจะปรับปรุง และปฏิบัติเมื่อเจ้าหน้าที่ลงไปตรวจติตตาม หรือหลังการตรวจเยี่ยมใหม่ๆ เมื่อเวลาผ่านไป สภาพร้านค้า แผงลอยและพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารก็จะกลับสู่สภาพที่ไม่ถูกสุขลักษณะดังเดิม
      ๕. ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง
      • การให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพ อสม. /เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง และ อปท.มีการออกข้อกำหนดท้องถิ่นด้านการสุขาภิบาลอาหาร จะช่วยให้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ประสบความสำเร็จมากขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหาร สะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค 2.เพื่อให้ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งแก่ผู้บริโภคในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ร้อยละ 90 2.ผู้ประกอบการร้านขายชำ เข้ารับการอบรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 3.ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 4.อสม./ผู้นำชุมชน เข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 5.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร ร้อยละ 10
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า  อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหาร สะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ  ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค    2.เพื่อให้ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งแก่ผู้บริโภคในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5238-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิจิตราทองเกิด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด