กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมรัตน์ขำมาก

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5238-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5238-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการ จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วง อหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษ และอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วง อหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษ และการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้น รัฐบาลจึงมุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นนโยบายสำคัญมาตั้งแต่ปี 2548 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ซึ่งมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์อาหาร การดำเนินโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ รวมทั้ง อะฟาท็อกซินตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ผ่านสื่อต่างๆ กิจกรรมเหล่านี้มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่สะอาด ปลอดภัย
จากข้อมูลการดำเนินงานอาหารปลอดภัยของตำบลชุมพล หมู่ที่ 2-4 ปี ในปี 2559 พบว่าร้านอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย 100% ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 100 แต่อย่างไรก็ตาม ยังต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือน เนื่องจากประชาชนปรุงอาหารรับประทานเองเป็นส่วนมาก จึงต้องมีการให้ความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่แม่บ้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องโรคอุจจาระร่วง ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับแรก ๆ ของเขตพื้นที่รับผิดชอบ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561 ขึ้น ซึ่งจะส่งผลทำให้อัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 0-5 ปี ลดน้อยลง ต่อไปการบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการ จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สดสะอาดมีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงอหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษและอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงอหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษและการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุ ให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้น รัฐบาลจึงได้มุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นนโยบายสำคัญมาตั้งแต่ปี 2548 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารซึ่งมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์อาหาร การดำเนินโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ รวมทั้งอะฟาท็อกซินตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ผ่านสื่อต่าง ๆ กิจกรรมเหล่านี้มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่สะอาด ปลอดภัย
จากข้อมูลการดำเนินงานอาหารปลอดภัย ของตำบลชุมพล หมู่ที่ 2-4 ปี ในปี 2559 -2560 พบว่าร้านอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย100 %ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 100แต่อย่างไรก็ตาม ยังต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือน เนื่องจากประชาชนปรุงอาหารรับประทานเองเป็นส่วนมาก จึงต้องมีการให้ความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่แม่บ้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องโรคอุจจาระร่วงซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับแรกๆของเขตพื้นที่รับผิดชอบ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.นางเหล้าอ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561ขึ้น ซึ่งจะส่งผลทำให้อัตราการเกิดโรคอุจจารร่วงในเด็กอายุ 0- 5 ปี ลดน้อยลง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย รา้นค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค 2. เพื่อให้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน มีความรู้อาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วง 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 89
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ชื่อโครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสา ปนเปื้อนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561
    1. ผลการดำเนินงาน 1.1 ผลผลิต
    - ตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารปลอดภัย ยาและเครื่องสำอาง แผงลอยขายอาหาร
    ร้านค้า โรงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 27 แห่ง
    - ร้านค้า แผงลอยได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 3 ร้าน
    - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในโรงเรียน และ อสม./แกนนำชุมชนได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 80 คน
    1.2 ผลตัวชี้วัด : - ร้านค้า แผงลอย โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย มากกว่าร้อยละ 100 - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในโรงเรียน และ อสม. หรือแกนนำชุมชน ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 80 คน และมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 89.60 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ
    3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 7,150 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง  4,250 บาท  คิดเป็นร้อยละ .....59.44..... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 2,900 บาท  คิดเป็นร้อยละ 40.56 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี ปัญหา/อุปสรรค - ผู้ประกอบการ ร้านค้า แผงลอย ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการปฎิบัติตามข้อสุขาภิบาล ส่วนใหญ่มีความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหารและจะปรับปรุงปฎิบัติเมื่อเจ้าหน้าที่ลงไปตรวจเยี่ยม หรือหลังการตรวจเยี่ยมใหม่ๆ เมื่อเวลาผ่านไปไม่นาน สภาพร้านค้า แผงลอยและพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารก็ยังไม่ค่อยถูกสุขลักษณะ - ร้านขายอาหาร แผงลอยยังใช้โฟมในการบรรจุอาหารรับประทาน - ร้านชำยังมีการแอบขายเครื่องสำอางที่ผิดกฎหมาย ไม่มีอ.ย.รับรองบางร้านยังขายยาอันตราย เช่น Noxy แนวทางแก้ไข - การให้ความรู้แก่ประชาชนโทษ พิษภัยและอันตรายจากการใช้โฟม บรรจุอาหาร และพิษภัยของเครื่องสำอางที่ผิดกฎหมาย ไม่มีอ.ย.รับรอง ผ่านช่องทางต่างๆเช่นเวทีประชาคม หอกระจายข่าว การประชุม โปสเตอร์ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง - จัดอบรมผู้ประกอบการ ร้านค้า แผงลอย และมีการติดตามให้ความรู้ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อให้ร้านค้า ตระหนักถึงโทษ พิษภัยและอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร และพิษภัยของเครื่องสำอางที่ผิดกฎหมาย ไม่มีอ.ย.รับรอง - พัฒนาศักยภาพ อสม.และเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและ จะช่วยให้การ ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ประสบความสำเร็จมากขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย รา้นค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค 2. เพื่อให้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน มีความรู้อาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วง 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้า แผงลอย โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหารผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย มากกว่าร้อยละ 90 2. ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผูัดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน อสม. หรือแกนนำชุมน ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร และมีความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 80 3. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง น้อยกว่าร้อยละ 10 ของค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2557-2561) โดยเทียบจากระบบรายงาน 506 4. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคที่ระดับ 5 (จากแบบประเมินระดับการมีส่วนร่วม)
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 89
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 89
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย รา้นค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค  2. เพื่อให้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน มีความรู้อาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วง  4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5238-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมรัตน์ขำมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด