กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ


“ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ”

ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ประทีบ ปิ่นทอง

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต

ที่อยู่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5181-01-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5181-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 154,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับในปีงบประมาณ 2560 พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 10.1ซึ่งพบว่าจะมีภาวะซีดร่วมด้วย(เกณฑ์มาตรฐานไม่เกินร้อยละ10)และยังส่งผลต่อการเจริญเติบของทารกในครรภ์เมื่อคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500กรัม ร้อยละ7.41ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานไม่เกินร้อยละ7 มีผลต่อการเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายและสมองสติปัญญา เสี่ยงที่จะมีพัฒนาการตามวัยล่าช้าตามมาด้วยในปีงบประมาณ 2560 พบเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 19รายขาดสารอาหารจำนวน 30คนฉะนั้นการเตรียมความพร้อมในความรู้ในการปฏิบัติตนให้หญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์จนถึงอายุ2ปี จึงเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์ ดังนี้
  2. เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี
  3. เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์ 2.เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี 3. เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.การลงทุนด้านโภชนาการสตรีและเด็กให้ผลตอบแทนกลับคืนมา 50 เท่า 2.เด็กเจริญเติบโตดีพัฒนาการสมวัย ระดับเชาว์ปัญญาดีมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา 3.ลดปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ 4.ลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอันเนื่องมาจากการขาดสารอาหาร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์ ดังนี้
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ >80% 2. หญิงตั้งครรภ์/สามี เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ 80 % 3.หญิงตั้งครรภ์น้ำหนักขึ้นขณะตั้งครรภ์ตามเกณฑ์ร้อยละ90 4.หญิงตั้งครรภ์มีระดับความเข็มข้นของเลือด ครั้งที่2 และใกล้คลอด ร้อยละ90 5.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ90 6.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก2500กรัม ร้อยละ95 7.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ80
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี
ตัวชี้วัด : 1.มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 2.เด็กอายุ 9 เดือน – 2 ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 90 3.พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้เรื่องการเลี้ยงดูเด็กมากกว่าร้อยละ70 4.เกิดกระแสทางสังคมในคลินิกสุขภาพเด็กดีในเรื่อง งดขนมขบเคี้ยว /งดการใช้โทรศัพท์ ในเด็ก ร้อยละ 100 5.เด็กผอมลดลงร้อยละ3 6.เด็กเตี้ยลดลงร้อยละ3 7.เด็กร่างกายสมส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ10
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด : 1.ชุมชน ภาคีเครือข่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินตามแผนงาน มากกว่าร้อยละ 50 ( ประเมินด้วยวิธีการสังเกต) 2.ความร่วมมือ กระแสตอบรับ การจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ พอใช้ขึ้นไป 3.ประเมินความพึงพอใจตามแผนงานโครงการ อยู่ในระดับ ดี- ดีมาก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์ ดังนี้  (2) เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี (3) เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน  ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.พัฒนาคุณภาพคลินิกฝากครรภ์  2.เพื่อพัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดี 3. เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน  ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5181-01-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประทีบ ปิ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด