กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการโภชนาการพัฒนาการเด็กอายุ 0 -5 ปี ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟูซียะห์ เจ๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการพัฒนาการเด็กอายุ 0 -5 ปี

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2514-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการพัฒนาการเด็กอายุ 0 -5 ปี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการพัฒนาการเด็กอายุ 0 -5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการพัฒนาการเด็กอายุ 0 -5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2514-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการจากการขาดสารอาหารเป็นสิ่งที่พบได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี ซึ่งสาเหตุที่เด็กขาดสารอาหารมีหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น การเลี้ยงดูบุตร ความเชื่อในการบริโภคอาหารที่ผิดๆ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้นซึ่งปัญหาเหล่านี้มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพเด็กทำให้เด็กมีร่างกายอ่อนแอ ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ พัฒนาการทางด้านร่างกายและสติปัญญาจะช้าลง ดั้งนั้นการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กในวัยนี้มีความสำคัญมาก เพื่อเด็กเหล่านี้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ได้รับอาหารที่มีคุณค่า จึงจำเป็นต้องให้มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารและโภชนาการแก่ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็ก ควรเริ่มตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดให้สามารถเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ ทั้งนี้เพื่อจะได้เป็นรากฐานของการพัฒนาเพื่อให้เป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพสูงในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ ตามรายงานพบว่ามีเด็กอายุ ๐-๕ ปี ทั้งหมด ๓๖๔ คน ได้รับการชั่งน้ำหนักทั้งหมด ๓๕๖ คนคิดเป็นร้อยละ ๙๗.๘๐ เป็นเด็กน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ๓๑๖ คน เป็นเด็กน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ ๕ คน เป็นเด็กน้ำหนักค่อนข้างมาก ๑ คน เป็นเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย ๑๒ คน และเป็นเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๘๙ ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่มีระดับความรุนแรงในระดับหนึ่ง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้ความร่วมมือกันในการแก้ปัญหาดังกล่าว
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลลาโละ และแกนนำอสม.โภชนาการ ตำบลลาโละ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปี ๖๑ ตำบลลาโละอำเภอรือเสาะจังหวัดนราธิวาสประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้นเพื่อลดภาวะ การขาดสารอาหารในเด็กซึ่งจะส่งผลทำให้เด็กมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน
  2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
  3. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 6 ปี
  5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเวทีให้ความรู้และเสวนาแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 9-42 เดือนในชุมชน เป็นรายหมู่บ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน โดยให้ผู้ปกครอง ครอบครัวตัวอย่าง ด้านเด็กที่มีโภชนาการดี และพัฒนาการสมวัย มาเป็นวิทยากร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 125
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – 7๒ เดือน
  2. เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
  3. เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก 4.ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี
  4. สร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดเวทีให้ความรู้และเสวนาแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 9-42 เดือนในชุมชน เป็นรายหมู่บ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน โดยให้ผู้ปกครอง ครอบครัวตัวอย่าง ด้านเด็กที่มีโภชนาการดี และพัฒนาการสมวัย มาเป็นวิทยากร

วันที่ 23 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. กิจกรรม จัดเวทีให้ความรู้   -จัดเวทีให้ความรู้และเสวนาแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 9-42 เดือนในชุมชน เป็นรายหมู่บ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน   -โดยให้ผู้ปกครอง ครอบครัวตัวอย่าง ด้านเด็กที่มีโภชนาการดี และพัฒนาการสมวัย มาเป็นวิทยากร ๒. กิจกรรม ตรวจคัดกรองพัฒนาการเชิงรุก   -แจกรายชื่อเด็ก 4 ช่วงวัย ให้ อสม.ติดตามเด็กในเขตรับผิดชอบ   -ตรวจประเมินและคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย โดยใช้เครื่องมือ DSPM ทุกเดือน   -ในรายที่ตรวจคัดกรองแล้ว พบว่า พัฒนาการล่าช้า นัดกระตุ้นพัฒนาการซ้ำอีก 1 เดือน   -ในรายที่กระตุ้นซ้ำแล้ว พบว่า พัฒนาการล่าช้าอีก ส่งต่อพบแพทย์ด้านจิตวิทยา ที่โรงพยาบาลรือเสาะ ต่อไป ๓. กิจกรรม ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบศีรษะ เชิงรุก   -แจกรายชื่อแก่ อสม.เพื่อติดตามเด็กในเขตรับผิดชอบมาชั่งน้ำหนักในหมู่บ้านทั้ง 4 หมู่บ้าน   -ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบศีรษะ เด็ก อายุ 0-72 เดือน โดยแบ่งตามเขต อสม.รับผิดชอบ   - โพสกราฟในสมุดสีชมพู   -แจ้งผลการประเมิน ภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครองทราบทันที   -ในรายที่พบภาวะทุพโภชนาการ ติดตาม ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ ทุกเดือน
  -แจกนม จ่ายยาเสริมธาตุเหล็ก และ จ่ายยาถ่ายพยาธิ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กของเด็กอายุ 0- 60 เดือนได้รับการช่างน้ำหนักวัดส่วนสูงร้อยละ 95 2.เด็กอายุ9,18,30,42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 3.เด็กอายุแรกเกิด-6ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95 4.ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริงร้อยละ 98.28 5.มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินโครงการ 6.มีครอบครัวต้นแบบด้านโภชนาการและพัฒนาการที่ดีในชุมชนเพิ่มมากขึ้น

 

124 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.เด็กของเด็กอายุ 0- 60 เดือนได้รับการช่างน้ำหนักวัดส่วนสูงร้อยละ 95 2.เด็กอายุ9,18,30,42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 3.เด็กอายุแรกเกิด-6ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95 4.ผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการดูแลมีการนำไปปฏิบัติจริงร้อยละ 98.28 5.มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินโครงการ 6.มีครอบครัวต้นแบบด้านโภชนาการและพัฒนาการที่ดีในชุมชนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน
ตัวชี้วัด : เด็กของเด็กอายุ ๐ – ๖๐ เดือนได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงร้อยละ ๙๕
95.00

 

2 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
80.00

 

3 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
ตัวชี้วัด : เด็กอายุแรกเกิด- ๖ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ ร้อยละ ๙๕
95.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 6 ปี
ตัวชี้วัด : มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนในการดำเนินโครงการ
0.00

 

5 เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
ตัวชี้วัด : มีครอบครัวต้นแบบด้านโภชนาการและพัฒนาการที่ดีในชุมชนเพิ่มมากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 125
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 125
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือน (2) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม  (3) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด - 6 ปี (5) เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเวทีให้ความรู้และเสวนาแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 9-42 เดือนในชุมชน เป็นรายหมู่บ้าน จำนวน 4 หมู่บ้าน โดยให้ผู้ปกครอง ครอบครัวตัวอย่าง ด้านเด็กที่มีโภชนาการดี และพัฒนาการสมวัย มาเป็นวิทยากร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโภชนาการพัฒนาการเด็กอายุ 0 -5 ปี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2514-1-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟูซียะห์ เจ๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด