กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี


“ โครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง ”

ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง

ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1464-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1464-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมืองน่าอยู่ แนวคิดขององค์การอนามัยโลก คือ กระบวนการที่ทำให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพสังคม และพร้อมที่จะร่วมกันสรรค์สร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมในการดำรงชีวิตและในขณะเดียวกัน เมืองน่าอยู่ ก็คือเมืองที่มีการสร้างสรรค์และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการขยายแหล่งทรัพยากรชุมชนโดยให้ประชาชนในชุมชนนั้นมีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันและกันเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต เพื่อให้ได้ศักยภาพหรือคุณภาพของชีวิตที่ดีที่สุดการรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เช่น การจัดบ้านเรือนให้สะอาดเรียบร้อย การกำจัดขยะมูลฝอย การกำจัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลเป็นต้น จะเป็นการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุแมลงนำโรคและทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะโรคติดต่อต่างๆ
บ้านหรือที่พักอาศัยถือเป็นปัจจัยขั้นพื้นฐานต่อการดำนงชีวิตของมนุษย์ เป็นสถานที่ที่ประชาชนใช้ในการอยู่อาศัยและทำกิจกรรมต่างๆ แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตและสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ประชาชนละเลยต่อสภาพคาวามเป็นอยู่ของครอบครัว และไม่มีการจัดการดูแลที่พักอาศัยที่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องของการสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานในครัวเรือน เช่น ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สำหรับชุมชนหมู่บ้านการเคหะ หมู่ที่ 1 ตำบลควนธานี เป็นชุมชนที่มีพื้นที่ประมาณ 100 ไร่ มีประชากรอาศัยประมาณ 505 หลังคาเรือนจากการสำรวจบ้านที่พักอาศัยด้วยแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์เบื้องต้น ซึ่งมีรายละเอียดของเกณฑ์การประเมินรวมทั้งส้ิน 34 ข้อ พบว่าที่อยู่อาศัยของหมู่บ้านการเคหะ มีสภาพทรุดโทรม บริเวณบ้านสกปรกเลอะเทอะ มีน้ำขังเฉอะแฉะ มีกลิ่นรบกวน ท่อระบายน้ำในหมู่บ้านตัน มีกลิ่นเหม็นเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและสัตว์นำโรคบ้านเรือนไม่มีการคัดแยกขยะมูลฝอย มีปริมาณขยะมูลฝอยจำนวนมาก และทิ้งกองในบริเวณที่ไม่เหมาะสม จากสภาพปัญหาข้างต้น วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง จึงให้ความสนใจที่แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลที่พักอาศัยของหมู่บ้านเคหะ หมูุ่ที่ 1 โดยจัดทำโครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในทีี่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง
  2. 2.เพื่อพัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี
  3. 3.เพื่อสงเสริมทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ของประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี และการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
  4. 4.เพื่อพัฒนานวัตกรรมประผลิตภัณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง
  2. พัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี
  3. การพัฒนาทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆของประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง โรงเรียนวัดควนธานี และการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
  4. พัฒนานวัตกรรมประเภทผลิตภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง 2.เพื่อพัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี 3.เพื่อให้มีการเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนเคหะตรัง 4.เพื่อส่งเสริมทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆกับประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานีและการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ 5.เพื่อมีนวัตกรรมชุมชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ช่วยลดหรือจัดการปัญหาความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ชุมชนการเคหะตรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การพัฒนาทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆของประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง โรงเรียนวัดควนธานี และการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.กิจกรรมการตรวจประเมินสุขภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ของชุมชนการเคหะตรัง 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนานำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆ 4.กิจกรรมการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม นักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คน และเด็กและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน 2.การตรวจประเมินสุขาภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัย ชีวีสมบูรณ์ ของชุมชนการเคหะการตรัง หมู่ที่ 1 โครงการระยะที่ 1 จำนวน 73 หลังคาเรือน พบว่า ตัวบ้านอยู่ในสภาพดี มั่งคง แข็งแรง ร้อยละ 86.30 ภายในบ้านสะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นสัดส่วน และทำความสะอาดสม่ำเสมอ ร้อยละ 67.12 ภายในบ้านมีการระบายอากาศดี และมีแสงสว่างเพียงพอ ร้อยละ 33.33 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนาการนำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานี และเด็กเยาวชน และประชาชนชุมชนการเคหะตรัง พบว่ามีนำถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม กล่องนม 4.กิจกรรมการประกวดความคิดเห็นสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค

 

60 0

2. พัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี

วันที่ 3 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.กิจกรรมการตรวจประเมินสุขภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ของชุมชนการเคหะตรัง 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนานำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆ 4.กิจกรรมการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม นักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คน และเด็กและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน 2.การตรวจประเมินสุขาภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัย ชีวีสมบูรณ์ ของชุมชนการเคหะการตรัง หมู่ที่ 1 โครงการระยะที่ 1 จำนวน 73 หลังคาเรือน พบว่า ตัวบ้านอยู่ในสภาพดี มั่งคง แข็งแรง ร้อยละ 86.30 ภายในบ้านสะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นสัดส่วน และทำความสะอาดสม่ำเสมอ ร้อยละ 67.12 ภายในบ้านมีการระบายอากาศดี และมีแสงสว่างเพียงพอ ร้อยละ 33.33 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนาการนำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานี และเด็กเยาวชน และประชาชนชุมชนการเคหะตรัง พบว่ามีนำถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม กล่องนม 4.กิจกรรมการประกวดความคิดเห็นสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค

 

40 0

3. พัฒนานวัตกรรมประเภทผลิตภัณฑ์

วันที่ 17 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.กิจกรรมการตรวจประเมินสุขภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ของชุมชนการเคหะตรัง 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนานำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆ 4.กิจกรรมการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม นักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คน และเด็กและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน 2.การตรวจประเมินสุขาภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัย ชีวีสมบูรณ์ ของชุมชนการเคหะการตรัง หมู่ที่ 1 โครงการระยะที่ 1 จำนวน 73 หลังคาเรือน พบว่า ตัวบ้านอยู่ในสภาพดี มั่งคง แข็งแรง ร้อยละ 86.30 ภายในบ้านสะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นสัดส่วน และทำความสะอาดสม่ำเสมอ ร้อยละ 67.12 ภายในบ้านมีการระบายอากาศดี และมีแสงสว่างเพียงพอ ร้อยละ 33.33 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนาการนำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานี และเด็กเยาวชน และประชาชนชุมชนการเคหะตรัง พบว่ามีนำถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม กล่องนม 4.กิจกรรมการประกวดความคิดเห็นสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค

 

0 0

4. กิจกรรมการพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.กิจกรรมการตรวจประเมินสุขภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ของชุมชนการเคหะตรัง 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนานำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆ 4.กิจกรรมการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม นักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คน และเด็กและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน 2.การตรวจประเมินสุขาภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัย ชีวีสมบูรณ์ ของชุมชนการเคหะการตรัง หมู่ที่ 1 โครงการระยะที่ 1 จำนวน 73 หลังคาเรือน พบว่า ตัวบ้านอยู่ในสภาพดี มั่งคง แข็งแรง ร้อยละ 86.30 ภายในบ้านสะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นสัดส่วน และทำความสะอาดสม่ำเสมอ ร้อยละ 67.12 ภายในบ้านมีการระบายอากาศดี และมีแสงสว่างเพียงพอ ร้อยละ 33.33 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนาการนำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานี และเด็กเยาวชน และประชาชนชุมชนการเคหะตรัง พบว่ามีนำถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม กล่องนม 4.กิจกรรมการประกวดความคิดเห็นสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.กิจกรรมให้ความรู้การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม นักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 คน และเด็กและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน 2.การตรวจประเมินสุขาภิบาลที่อยู่อาศัยตามแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัย ชีวีสมบูรณ์ ของชุมชนการเคหะการตรัง หมู่ที่ 1 โครงการระยะที่ 1 จำนวน 73 หลังคาเรือน พบว่า ตัวบ้านอยู่ในสภาพดี มั่งคง แข็งแรง ร้อยละ 86.30 ภายในบ้านสะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นสัดส่วน และทำความสะอาดสม่ำเสมอ ร้อยละ 67.12 ภายในบ้านมีการระบายอากาศดี และมีแสงสว่างเพียงพอ ร้อยละ 33.33 3.กิจกรรมอบรมในการพัฒนาการนำขยะมูลฝอยมาใช้ในรูปแบบต่างๆของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานี และเด็กเยาวชน และประชาชนชุมชนการเคหะตรัง พบว่ามีนำถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม กล่องนม 4.กิจกรรมการประกวดความคิดเห็นสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ มีการประกวดทำกระเป่าผ้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก 5.กิจกรรมการรณรงค์และนิทรรศการให้ความรู้ด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชในชุมชนการเคหะตรัง 4 เรื่อง คือ การจัดการขยะมูลฝอย การลดการใช้ถุงพลาสติก และโฟมบรรจุอาหารสุขาภิบาลที่พักอาศัย การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ - ความพึงพอใจต่อกระบวนการ/ขั้นตอนการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมาก - ความพึงพอใจการให้บริการของนักศึกษา/อาจารย์ อยู่ในระดับมาก - ความพึงพอใจต่อสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก - ความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมาก - ความพึงพอใจกิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการ อยู่ในระดับมาก - บริการวิชาการที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการที่อยู่อาศัยที่ถูกสุขลักษณะ อยู่ในระดับมาก - บริการวิชาการที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการควบคุมและป้องกันแมลงและสัตว์นำโรค อยู่ในระดับมาก - บริการวิชาการที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน อยู่ในระดับมาก - บริการวิชาการที่ได้รับสร้างจิตสำนึกในการลดการใช้ถุงพลาสติกในชีวิตประจำวัน อยู่ในระดับมาก - บริการวิชาการที่ได้รับสร้างคาวมตระหนักเกี่ยวกับอันตรายของการใช้โฟมบรรจุอาหาร อยุ่ในระดับมาก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพิ่มสูงขึ้น
0.00

 

2 2.เพื่อพัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของนักเรียนในโรงเรียนวัดควนธานีได้รับการพัฒนาเป็นแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนที่อยู่อาศัย 2.ร้อยละ 80 ของเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังได้รับการพัฒนาเป็นแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่อยู่อาศัย 3.ร้อยละ 80 ของนักเรียนในโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนที่อยู่อาศัย 4.ร้อยละ 80 ของเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่อยู่อาศัย
0.00

 

3 3.เพื่อสงเสริมทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ของประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี และการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของประชาชนและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆ 2.ร้อยละ 60 ของประชาชนและเยาวชนในชุมชนการเคหะตรังที่เข้าร่วมโครงการส่งประกวดความคิดเห็นสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ 3.ร้อยละ 80 ของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆ 4.ร้อยละ 80 ของนักเรียนโรงเรียนวัดควนธานีที่เข้าร่วมโครงการส่งประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
0.00

 

4 4.เพื่อพัฒนานวัตกรรมประผลิตภัณฑ์
ตัวชี้วัด : มีนวัตกรรมประเภทผลิตภัณฑ์ด้านการลดปริมาณขยะและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนเกิดขึ้นอย่างน้อย 1 นวัตกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 100 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง (2) 2.เพื่อพัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี (3) 3.เพื่อสงเสริมทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ของประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี และการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (4) 4.เพื่อพัฒนานวัตกรรมประผลิตภัณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการพัฒนาความรู้ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชนในชุมชนการเคหะตรัง (2) พัฒนาแกนนำเยาวชนเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนการเคหะตรัง และโรงเรียนวัดควนธานี (3) การพัฒนาทักษะในการนำขยะกลับมาใช้ในรูปแบบต่างๆของประชาชน แกนนำ และเยาวชนในชุมชนการเคหะตรัง โรงเรียนวัดควนธานี และการประกวดความคิดสร้างสรรค์ในการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ (4) พัฒนานวัตกรรมประเภทผลิตภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ใส่ใจสุขภาพประชาชนของชุมชนการเคหะตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1464-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด