กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ เด็กไทยไม่กินหวาน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ ร.ต.หญิง อหนัดนงค์รัตนวิภา

ชื่อโครงการ เด็กไทยไม่กินหวาน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กไทยไม่กินหวาน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กไทยไม่กินหวาน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง



บทคัดย่อ

โครงการ " เด็กไทยไม่กินหวาน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลสำรวจของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขในปี2551 – 2555 พบว่า ประชากรเพศชายเป็นโรคอ้วนเพิ่มมากขึ้นถึงร้อยละ 36 ส่วนประชากรหญิงเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 47 โดยช่วงอายุที่มีอัตราการการเป็นโรคอ้วนที่เพิ่มสูงสุด คือ ช่วงอายุ 20-29 ปี ซึ่งเป็นช่วงอายุที่อยู่ในวัยทำงาน และจากสภาพปัญหาดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา อาจจะนำไปสู่ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นปัญหาของประเทศชาติในอนาคต เมื่อสำรวจการบริโภคน้ำตาลของเด็กนักเรียนชั้นเด็กเล็กและประถม ในปี 2557 พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 10-12 ช้อนชา/คน/วัน เกินกว่าค่ามาตรฐานซึ่งอยู่เป็นที่ประมาณ 6 ช้อนชาต่อวันโดยการบริโภคน้ำตาลแบบที่ว่าเป็นไปใน 2 รูปแบบ คือ ในรูปแบบที่มองเห็น และมองไม่เห็น ซึ่งมีอัตราส่วนอยู่ที่ 1 ต่อ 1 นอกจากน้ำตาลแบบที่เขาเห็นและตักใส่อาหารแล้ว ยังมีน้ำตาลที่อยู่ในรูปขนม ลูกอม เครื่องดื่มบริโภคอีกหนึ่งส่วน และเมื่อลงรายละเอียดของพฤติกรรมเด็กไทยพบว่า กินขนมเฉลี่ยประมาณ 2-3 ครั้ง หรือ 2-3 ถุงต่อวัน ดื่มน้ำอัดลมประมาณ 1 กระป๋อง เมื่อคำนวณจาก 2 แหล่งนี้รวมกัน ใน 1 วัน เด็กจะได้รับน้ำตาลจากน้ำอัดลม 7.4 ช้อนชา บวกกับน้ำตาลที่ได้จากขนมอีกประมาณ 2-3 ช้อนชา พฤติกรรมการกินรสหวานจึงเป็นเรื่องที่คุ้นเคยกันมาแต่เด็ก พฤติกรรมการบริโภคของเด็กดังกล่าวยังส่งผลเสียต่อสุขภาพช่องปาก โดยจากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพระดับประเทศ ปี 2555 พบอัตราการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ขวบ ร้อยละ 56.7 และผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของวังหวัดสตูลปี 2559 พบเด็ก 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 66.82 ส่วนเด็ก 3 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง ปี 2559 มีฟันผุร้อยละ 51.51 ปัญหาฟันผุในเด็กดังกล่าว ยังส่งผลเสียต่อโภชนาการและพัฒนาการของเด็กได้ ดังนั้นการปลูกผังให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่อการรับประทานอาหารที่หวานน้อย หลีกเลี่ยงอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพของเด็ก เพื่อลดปัญหาหารเกิดโรคดังกล่าวข้างต้น รวมทั้งการบูรณะฟันที่ผุในเด็ก เพื่อให้เด็กสามารถบดเคี้ยวและกลับมาใช้งานได้ตามปกติจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้เกี่ยวข้องควรดำเนินการ ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง ร่วมกับ ฝ่ายสาธารณสุขโรงพยาบาลละงูงานคลินิกโรคเรื้อรัง งานสุขภาพจิต และงานโภชนาการจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปลูกฝังเด็กให้มีนิสัยการรับประทานอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน เป้าหมาย เด็กใน ศพด.ทต.กำแพง
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับทราบถึงผลกระทบของการบริโภคหวานเกินความจำเป็นรวมถึงการเลือกอาหารว่างที่เป็นประโยชน์ให้กับเด็ก
  3. เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้ เป้าหมาย เด็กใน ศพด.ที่มีฟันน้ำนมผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันด้วย SMART technique ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมทีมงานและการติดตาม การดำเนินงานในโครงการ “รณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน”
  2. สอนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเรื่องโภชนาการและอาหารการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกแปรงฟัน
  3. จัดบริการอุดฟันให้แก่เด็กที่มีฟันผุด้วยวิธี SMAR technique
  4. จัดงานมหกรรมเด็ก/ผู้ปกครองเด็ก”รณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน”
  5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เด็ก/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพช่องปาก 2.เด็กเกิดการสร้างนิสัย ลดการบริโภคหวานเกินความจำเป็น 3.เด็กและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและสามารถปฏิบัติได้ 4.ลดปัญหาโรคฟันผุในฟันถาวร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปลูกฝังเด็กให้มีนิสัยการรับประทานอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน เป้าหมาย เด็กใน ศพด.ทต.กำแพง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพงได้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานใน ศูนย์พัฒนาเด็ก
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับทราบถึงผลกระทบของการบริโภคหวานเกินความจำเป็นรวมถึงการเลือกอาหารว่างที่เป็นประโยชน์ให้กับเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพงได้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานในศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง 2.ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเด็กไทยไม่กินหวานในศูนย์พัฒนาเด็กมีความรู้การเลือกบริโภคอาหาร พัฒนาการในเด็ก และการดูแลสุขภาพของปากผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้ เป้าหมาย เด็กใน ศพด.ที่มีฟันน้ำนมผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันด้วย SMART technique ได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของเด็กใน ศพด.ที่มีฟันผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันได้โดยวิธี SMART technique 2.ร้อยละ 100 ของเด็กใน ศพด.ที่ได้รับการอุดฟันแบบ SMART technique ไม่มีปัญหาภาวะแทรกซ้อนหลังทำ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปลูกฝังเด็กให้มีนิสัยการรับประทานอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน เป้าหมาย  เด็กใน ศพด.ทต.กำแพง  (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับทราบถึงผลกระทบของการบริโภคหวานเกินความจำเป็นรวมถึงการเลือกอาหารว่างที่เป็นประโยชน์ให้กับเด็ก (3) เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้ เป้าหมาย  เด็กใน ศพด.ที่มีฟันน้ำนมผุและยังสามารถให้การบูรณะด้วยการอุดฟันด้วย SMART technique ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานและการติดตาม การดำเนินงานในโครงการ “รณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน” (2) สอนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเรื่องโภชนาการและอาหารการดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกแปรงฟัน (3) จัดบริการอุดฟันให้แก่เด็กที่มีฟันผุด้วยวิธี SMAR technique (4) จัดงานมหกรรมเด็ก/ผู้ปกครองเด็ก”รณรงค์เด็กไทยไม่กินหวาน” (5) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เด็กไทยไม่กินหวาน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลตำบลกำแพง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ว่าที่ ร.ต.หญิง อหนัดนงค์รัตนวิภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด