โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายกอเดช จิตหลัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-33 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-33 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเข้าสู่สังคมผุ้สูงอายุ โดยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุในสังคมไทยนั้น ได้มีสาเหตุหลัก อันเนื่องมาจากการลดลงของภาวะวัยเจริญพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนและสัดส่วน ประชากรผู้สูงอายุและส่งผลกระทบต่อสังคมและระบบเศรษฐกิจ วัยสูงอายุ ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีจำนวนทั้งสิ้น 10014706 คน คิดเป็นร้อยละ 14.9 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งสะท้อนถึงการเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพื่งพิงทั้งในเชิงเศร็ษฐกิจ สังและสุขภาพ โดยการที่มีอายุยืนยาวขึ่้นกลับตามด้วยโรคเรื้อรังยาวนานขึ้น และโอกาสที่จะอยู่ในภาวะพึ่งพิงอันเนื่องมาจากทุพพลภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ่นส่งผลให้ครอบครัวในปัจจุบันและครอบครัวใหม่ในอนาคตแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงวัย สำหรับปัญหาด้านสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่า โรคสมองเสื่อมและโรคซึมเศร้าเป็นหนึ่งในป้ญหาสุขภาพ 5 อันดับแรกของผู้สูงอายุไทย ปัญหาที่พบบ่อยคือความกังวล ซึมเศร้า นอนไม่หลับ ภาวะสมองเสี่อม และปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้จาการสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุในปี 2554 พบว่าคะเเนนเฉลี่ยของผู้สูงอายุต่ำกว่าคนทั่วไป โดยทั่วไป 1/3 ของผู้สูงอายุเป็นผู้มีความเปราะบางทางจิตใจ ทำให้ต้อมมีการดูแลระยะยาว รวมทั้งผุ้สูงอายุเป็นวัยที่พบความสูญเสียคนไกล้ชิดและฐานะทางสังคม การเกษียณจากงานหรือเกิดความพิการ ทำให้ประสบกับภาวะโดดเดี่ยวและเกิดแผนยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต ในช่วงความทุกข์ทางใจ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พศ 2560-2564)2559:18-19)
วัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายไปในทางที่เสีื่อม ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตต่อผู้สูงอายุ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกับอย่างจริงจัง ทั้งภาครัฐ เอกชน โดยเน้นห่นักความพร้อมเพรียงของผุ้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และสังคม ในเรื่องการป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู และรักษาตัวเองเพื่อให้ผู้สูงอายุเหล่านั้นมีสุขภาพสมบูรณ์ทั่งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขและได้รับความคุ้มครองจากสังคมจากวิสัยทัศน์ตามแผนผุ้สุงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พศ 2545-2564) ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม โดยประชากรผู้สูงอายุที่มีสถารภาพดี สุขภาพ ดีทั้งกายและจิต พึ่งตนเองได้มีส่วนร่วม มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง ครอบครังและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเดื้อหนุนผู้สูงอายุ ระบบสวัสดิการและการบริการจะต้องสามารถรองรับผู้สูงอายุให้สามารถดำรงอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ รัฐจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบบริการผู้สูงอายุ ถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญอย่างยิ่งของสังคมและประเทศชาติ เป็นต้นทุนทางสังคมท่ีมีค่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมไทยที่นับถือผู้สุงอายุในฐานะผู้มีประสบการณ์มาก่อนและเป็นผู้สั่งสมภูมิปัญญาของท้องถิ่นในด้านต่างๆประกอบกับการพัฒนาด้านสาธารรสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืน่ยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่มถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื่้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพิง ไม่สามรถช่่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อย หรือมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในทีสุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข
กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนบ้านห้วมะพร้าว หมู่ที่ 11 ตำบลละงุ อำเภอละงู จังหวัดตูล เป็นกลุ่มทีมีสมาชิกผู้สูุงอายุในชุมชนเขตรับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลละงู ได้เล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตผุ้สูงอายุ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลละงู ในสถาบันพัฒนากลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายหลัก(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พศ 2557) เพื่อสนันสนุนส่งเสริมกิจกรรมการสริมสร้างสุขภาพ การป้องกัน การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการหรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน เนื่องจากการส่งเสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุมีความสามารถดูแลตนเองให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆรวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมือมีภาวะของโรคและควบคุมภาวะของโรคให้คงที่ ให้มีสุขภาพแข็งแรงไม่ให้เป็นภาระแก่ครอบครัว สังคม ทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสมารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม จึงนับเป็นการสร้างสังคมที่มีคุณภาพอีกทางหนึ่งด้วยจึ่งได้ดำเนินโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู เพื่อดำเนินสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสริมสร้างสุขภาพ การป้องกัน ของกลุ่มผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุขในบั้นปลายของชีวิตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมแกนนำผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งร่วมกันในการเสริมสร้งสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ่ของผู้สูงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- สนทนาสุขภาพ
- ให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
95
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 แกนนำผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งรวมกันในการเสริมสร้างสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ
2 ผู้สูงอายุมีความรู้และมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ
3 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
4 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่่ยวกับภาวะโภชนาการของผู้สูงวัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมแกนนำผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งร่วมกันในการเสริมสร้งสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : มีพื้นทีในการรวมกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุและสมาชิกผู้สูงวัยระดับหมู่บ้าน 2 แกนนำผู้สูงวัยมีความรู้ความเข้าใจร่วมกันในการเสริมสร้างสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผุ้สูงอายุ
1.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุร้อยละ 80 เข้าร่วมสนทนาและมีทักษะทางกายและใจ ในการเสริมสร้างสุขภาพ
0.00
3
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย
ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจสุขภาพจิตที่ดี
0.00
4
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ่ของผู้สูงวัย
ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจภาวะโภชนาการของผู้สูงวัย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
95
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมแกนนำผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งร่วมกันในการเสริมสร้งสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ่ของผู้สูงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) สนทนาสุขภาพ (3) ให้ความรู้ (4) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-33
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกอเดช จิตหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายกอเดช จิตหลัง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-33 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-33 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเข้าสู่สังคมผุ้สูงอายุ โดยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุในสังคมไทยนั้น ได้มีสาเหตุหลัก อันเนื่องมาจากการลดลงของภาวะวัยเจริญพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนและสัดส่วน ประชากรผู้สูงอายุและส่งผลกระทบต่อสังคมและระบบเศรษฐกิจ วัยสูงอายุ ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีจำนวนทั้งสิ้น 10014706 คน คิดเป็นร้อยละ 14.9 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งสะท้อนถึงการเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพื่งพิงทั้งในเชิงเศร็ษฐกิจ สังและสุขภาพ โดยการที่มีอายุยืนยาวขึ่้นกลับตามด้วยโรคเรื้อรังยาวนานขึ้น และโอกาสที่จะอยู่ในภาวะพึ่งพิงอันเนื่องมาจากทุพพลภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ่นส่งผลให้ครอบครัวในปัจจุบันและครอบครัวใหม่ในอนาคตแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงวัย สำหรับปัญหาด้านสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่า โรคสมองเสื่อมและโรคซึมเศร้าเป็นหนึ่งในป้ญหาสุขภาพ 5 อันดับแรกของผู้สูงอายุไทย ปัญหาที่พบบ่อยคือความกังวล ซึมเศร้า นอนไม่หลับ ภาวะสมองเสี่อม และปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้จาการสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุในปี 2554 พบว่าคะเเนนเฉลี่ยของผู้สูงอายุต่ำกว่าคนทั่วไป โดยทั่วไป 1/3 ของผู้สูงอายุเป็นผู้มีความเปราะบางทางจิตใจ ทำให้ต้อมมีการดูแลระยะยาว รวมทั้งผุ้สูงอายุเป็นวัยที่พบความสูญเสียคนไกล้ชิดและฐานะทางสังคม การเกษียณจากงานหรือเกิดความพิการ ทำให้ประสบกับภาวะโดดเดี่ยวและเกิดแผนยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต ในช่วงความทุกข์ทางใจ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พศ 2560-2564)2559:18-19)
วัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายไปในทางที่เสีื่อม ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตต่อผู้สูงอายุ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกับอย่างจริงจัง ทั้งภาครัฐ เอกชน โดยเน้นห่นักความพร้อมเพรียงของผุ้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และสังคม ในเรื่องการป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู และรักษาตัวเองเพื่อให้ผู้สูงอายุเหล่านั้นมีสุขภาพสมบูรณ์ทั่งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขและได้รับความคุ้มครองจากสังคมจากวิสัยทัศน์ตามแผนผุ้สุงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พศ 2545-2564) ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม โดยประชากรผู้สูงอายุที่มีสถารภาพดี สุขภาพ ดีทั้งกายและจิต พึ่งตนเองได้มีส่วนร่วม มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง ครอบครังและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเดื้อหนุนผู้สูงอายุ ระบบสวัสดิการและการบริการจะต้องสามารถรองรับผู้สูงอายุให้สามารถดำรงอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ รัฐจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบบริการผู้สูงอายุ ถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญอย่างยิ่งของสังคมและประเทศชาติ เป็นต้นทุนทางสังคมท่ีมีค่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมไทยที่นับถือผู้สุงอายุในฐานะผู้มีประสบการณ์มาก่อนและเป็นผู้สั่งสมภูมิปัญญาของท้องถิ่นในด้านต่างๆประกอบกับการพัฒนาด้านสาธารรสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืน่ยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่มถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื่้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพิง ไม่สามรถช่่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อย หรือมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในทีสุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข
กลุ่มผู้สูงอายุชุมชนบ้านห้วมะพร้าว หมู่ที่ 11 ตำบลละงุ อำเภอละงู จังหวัดตูล เป็นกลุ่มทีมีสมาชิกผู้สูุงอายุในชุมชนเขตรับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลละงู ได้เล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตผุ้สูงอายุ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลละงู ในสถาบันพัฒนากลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายหลัก(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พศ 2557) เพื่อสนันสนุนส่งเสริมกิจกรรมการสริมสร้างสุขภาพ การป้องกัน การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการหรือศูนย์ชื่ออื่นที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน เนื่องจากการส่งเสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุมีความสามารถดูแลตนเองให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆรวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมือมีภาวะของโรคและควบคุมภาวะของโรคให้คงที่ ให้มีสุขภาพแข็งแรงไม่ให้เป็นภาระแก่ครอบครัว สังคม ทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสมารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม จึงนับเป็นการสร้างสังคมที่มีคุณภาพอีกทางหนึ่งด้วยจึ่งได้ดำเนินโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู เพื่อดำเนินสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสริมสร้างสุขภาพ การป้องกัน ของกลุ่มผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุขในบั้นปลายของชีวิตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมแกนนำผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งร่วมกันในการเสริมสร้งสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ่ของผู้สูงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- สนทนาสุขภาพ
- ให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 95 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 แกนนำผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งรวมกันในการเสริมสร้างสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ 2 ผู้สูงอายุมีความรู้และมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ 3 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข 4 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่่ยวกับภาวะโภชนาการของผู้สูงวัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมแกนนำผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งร่วมกันในการเสริมสร้งสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : มีพื้นทีในการรวมกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุและสมาชิกผู้สูงวัยระดับหมู่บ้าน 2 แกนนำผู้สูงวัยมีความรู้ความเข้าใจร่วมกันในการเสริมสร้างสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผุ้สูงอายุ |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุร้อยละ 80 เข้าร่วมสนทนาและมีทักษะทางกายและใจ ในการเสริมสร้างสุขภาพ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจสุขภาพจิตที่ดี |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ่ของผู้สูงวัย ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจภาวะโภชนาการของผู้สูงวัย |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมแกนนำผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งร่วมกันในการเสริมสร้งสุขภาพ ในระดับหมู่บ้านให้ผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพจิตสูงวัย (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ่ของผู้สูงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) สนทนาสุขภาพ (3) ให้ความรู้ (4) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุห้วยมะพร้าว จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-33
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกอเดช จิตหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......