กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด เป็นสาเหตุสำคัญ  ของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิด ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหาร นอกเหนือจากรสชาติของอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงถึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน             การบริโภคอาหาร เพื่อให้ได้อาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่าตามหลักโภชนาการ และปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ตำบลนาโยงใต้ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหารขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และประกันคุณภาพของอาหาร สร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ รวมทั้งผู้บริโภค ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ชุมชนมีกระบวนการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพอาหาร
  2. 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารสดมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้อและจำหน่ายอาหารสดที่สะอาดปลอดภัย
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื่อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.อธิบายและทำความเข้าใจกับผู้ประกอบการ
  2. 1.สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร
  3. แจ้งแลการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนมีกระบวนการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพอาหาร 2.ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อและจำหน่วยอาหารสด 3.ประชาชนในพื้นที่ ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.อธิบายและทำความเข้าใจกับผู้ประกอบการ

วันที่ 20 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร จากร้านในชุมชน และแจ้งผลการตรวจให้ผุ้ประการแล้ว ก็จะอธิบายและทำความเข้าใจกับผุ้ประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขลงพื้นที่ถ่ายทอดความรู้่ ตรวจ/ให้คำแนะนำผู้ประกอบการ การสำรวจร้านจำหน่ายอาหารสด ตรวจ แนะนำ การเลือกจำหน่ายอาหารสดแก่ผู้ประกอบการ พร้อมสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตรวจหาสารปนเปื่อนจำนวน 58 ตัวอย่าง จากร้านจำหน่ายอาหารสดจำนวน 15 ร้าน พบสารปนเปื้อน ประเภทสารกันรา ในน้ำผลไม้ดอง 1 รายการ และสารฟอกขาว ในถั่วงอก 1 รายการ ได้แจ้งผลการตรวจให้ อสม. และผุ้ประกอบการ ทราบ ให้หลีกเลี่ยงากรชื้อ /ขาย อาหารสด ที่เสี่ยวต่อสารปนเปื้อน จากร้านค้า ดังกล่าว

 

70 0

2. 1.สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อสม. มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร จากร้านจำหน่ายอาหารสดในชุมชน ปีละ 2 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ชุมชนมีกระบวนการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพอาหาร

 

0 0

3. แจ้งแลการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

แจ้งผลการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารที่ได้รับการตรวจจากร้อนค้าภายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารสดมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกชื้อและจำหน่ายอาหารสดที่สะอาดปลอดภัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีการลงพื้นที่สำรวจร้านจำหน่ายอาหารสด มีการตรวจสอบและให้คำแนะนำในการเลือกจำหน่ายอาหารสด พร้อมสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตตรวจสารปนเปื้อน จำนวน 58 ตัวอย่าง จากร้านจำหน่ายอาหารสด 15ร้าน พบสารปนเปื้อนประเภทสานกันราในน้ำผลไม้ดอง 1 รายการ ได้ประชุม และชี้แจง อสม. และผู้จำหน่ายทราบ เพื่อหลีกเลี้ยงการซื้อจำหน่ายที่เสี่ยงต่อสารปนเปื้อนดังกล่าว

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ชุมชนมีกระบวนการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

ปีละ 2 ครั้ง

2 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารสดมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้อและจำหน่ายอาหารสดที่สะอาดปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

 

3 3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื่อน
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ชุมชนมีกระบวนการเฝ้าระวัง และตรวจสอบคุณภาพอาหาร (2) 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารสดมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้อและจำหน่ายอาหารสดที่สะอาดปลอดภัย (3) 3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื่อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.อธิบายและทำความเข้าใจกับผู้ประกอบการ (2) 1.สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสด ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร (3) แจ้งแลการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด