กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นส.นฤมล หมันตะเห ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 6

ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-8282-2-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน (4) เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล (2) ส่งเสริมให้ประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ (3) กิจกรรมประกวดบ้านเรือนสะอาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
    - ควรมีการบูรณาการกิจกรรมให้เป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน เช่น ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง - ควรมีการจำกัดเวลาในการรับซื้อขยะอย่างชัดเจน - ควรมีการสำรองตำแหน่งเจ้าหน้าที่รับซื้อขยะ เวลาเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ - ควรมีการรณรงค์ทำความสะอาด (Big cleaning) หมู่บ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆเดือน ร่วมกับภาคีเครือข่าย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญประการหนึ่งของประเทศไทย คือ การจัดการขยะ ซึ่งแต่เดิมจะเกิดขึ้นเฉพาะในเมืองใหญ่ๆ แต่ปัญหานี้ได้ขยายวงกว้างมากขึ้นในทุกเขตเมือง โดยแปรตามกับความเจริญและการขยายขนาดของเมือง ซึ่งสภาพเศรษฐกิจยิ่งดีมากขึ้นเท่าไรปัญหาขยะก็เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น ปัจจุบันประเทศไทยใช้การจัดการขยะด้วยการฝังกลบเป็นส่วนใหญ่ และมีปัญหาการต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ที่มีการฝังกลบเป็นอย่างมากเนื่องจากไม่ต้องการให้อยู่ใกล้ชุมชนของตนเอง ถึงแม้จะมีการจัดการที่ดีเพียงใดก็ตาม ในด้านการกำจัดขยะโดยใช้วิธีเผาในปัจจุบันต่างประเทศได้หันมาใช้วิธีนี้กัน แต่ก็มีปัญหาเรื่องการเกิดมลพิษและค่าใช้จ่ายที่สูงมากในหลายประเทศจึงได้หันมาใช้วิธีนำกลับมาใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล (Recycle) ซึ่งได้ผลดี ฉะนั้นแนวทางใหม่ในการจัดการขยะโดยการ    รีไซเคิลน่าจะมีประสิทธิภาพดีสำหรับประเทศไทย ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งเน้นการเสริมสร้างแนวคิดวิสัยทัศน์ และกระบวนการทำงานด้านสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนแก่บุคลากรขององค์กรการเพิ่มขีดความสามารถที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ นอกจากนี้กองขยะยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำโรคสารพัดชนิด เช่น ยุง แมลงวัน หนู และแมงสาบ โดยเฉพาะยุงซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก และยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุข เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มเกิดการระบาดมากขึ้น การจัดการขยะอย่างเป็นระบบและถูกวิธีเป็นหนึ่งในการป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
โครงการนี้เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน ชุมชน และภาคีเครือข่าย แบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของประชาชนในทุกภาคส่วน และทุกครัวเรือน โดยการจัดกิจกรรมเชิงรุกตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ปลูกจิตสำนึก การรณรงค์ การฝึกอบรมให้ความรู้ และการคัดแยกขยะในชุมชนและครัวเรือน เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนได้มีรายได้เสริมจากขยะที่ได้จากชุนชมและครัวเรือน บางส่วนนำกลับไปใช้ทางการเกษตรเป็นการคืนความสมดุลให้กับธรรมชาติ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 6 บ้านป่าโอน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องการแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการ “เปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน” ขึ้นเพื่อลดอัตราการเกิดขยะ อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกทั้งในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน
  4. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมให้ประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ
  2. กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล
  3. กิจกรรมประกวดบ้านเรือนสะอาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ 2.ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน 3.ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล

วันที่ 5 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนในชุมชนได้มีการอบรมการคัดแยกขยะในชุมชน แล้วมีการนำขยะรีไซเคิลมาขายให้กับหมู่บ้าน ซึ่งสามารถเก็บเป็นเงินฝาก รับเป็นเงินสด หรือแลกเป็นถ้วยจานได้ โดยจะรับซื้อทุกวันที่ 17 ของเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกลุ่มแกนนำในการขับเคลื่อนธนาคารขยะรีไซเคิล

 

150 0

2. กิจกรรมประกวดบ้านเรือนสะอาด

วันที่ 17 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประกวดบ้านสะอาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดบ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายในบ้านและบริเวณรอบบ้าน

 

20 0

3. ส่งเสริมให้ประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ

วันที่ 5 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการปลูกผักปลอดสารพิษ การคัดแยกขยะในชุมชน และการประกวดบ้านต้นแบบ ทำให้ประชาชนรู้คุณค่าและเห็นความสำคัญ ของ “ขยะ” และหันมาปลูกผักรับประทานเอง และรักษาความสะอาดภายในบ้านและบริเวณรอบบ้านมากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดชุมชนสีเขียว และครัวเรือนมีการปลูกผักสวนครัว

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิต:
1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น   2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการคักแยกขยะรีไซเคิลเพิ่มขึ้น 3. ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลความสะอาดบ้านของตนเองเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์:
1. เกิดชุมชนสีเขียว และครัวเรือนมีการปลูกผักสวนครัวรับประทานกินเอง ร้อยละ 70 จากเป้าหมาย ร้อยละ 50 2. เกิดกลุ่มแกนนำในการขับเคลื่อนธนาคารขยะรีไซเคิล ร้อยละ 100 3. เกิดบ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายในบ้านและบริเวณรอบบ้าน ร้อยละ 80 จากเป้าหมายร้อยละ 70 - หลังจากได้อบรมการปลูกผักปลอดสารพิษ การคัดแยกขยะในชุมชน และการประกวดบ้านต้นแบบ ทำให้ประชาชนรู้คุณค่าและเห็นความสำคัญ ของ “ขยะ” และหันมาปลูกผักรับประทานเอง และรักษาความสะอาดภายในบ้านและบริเวณรอบบ้านมากขึ้น - ประชาชนในชุมชนได้มีการอบรมการคัดแยกขยะในชุมชน แล้วมีการนำขยะรีไซเคิลมาขายให้กับหมู่บ้าน ซึ่งสามารถเก็บเป็นเงินฝาก รับเป็นเงินสด หรือแลกเป็นถ้วยจานได้ โดยจะรับซื้อทุกวันที่ 17 ของเดือน
- ไม่มีผู้ป่วย ป่วยด้วยโรคระบาดในชุมชน เช่น โรคไข้เลือดออก จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรม ในครั้งนี้
- การมีส่วนร่วมของประชาชน และผู้นำส่วนต่างๆ ในชุมชน - สร้างรายได้ให้แก่กองทุนหมู่บ้าน - ประชาชนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
- ลดปริมาณขยะในชุมชน - ประชาชนเห็นคุณค่าและเห็นความสำคัญของ “ขยะ” - เกิดบ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายในบ้านและบริเวณรอบบ้าน และประชาชนรักความสะอาดมากขึ้น จุดที่ควรพัฒนาของโครงการ/กิจกรรม ในครั้งนี้     - การประชาสัมพันธ์โครงการให้ทั่วถึงและรวดเร็ว

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
ตัวชี้วัด : เกิดชุมชนสีเขียว และครัวเรือนมีการปลูกผักสวนครัว
50.00 50.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : เกิดกลุ่มแกนนำในการขับเคลื่อนธนาคารขยะรีไซเคิล
50.00 50.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : เกิดกลุ่มแกนนำในการขับเคลื่อนธนาคารขยะรีไซเคิล
50.00 50.00

 

4 เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดบ้านต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายในบ้านและบริเวณรอบบ้าน
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และเกิดธนาคารขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน (4) เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล (2) ส่งเสริมให้ประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ (3) กิจกรรมประกวดบ้านเรือนสะอาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
    - ควรมีการบูรณาการกิจกรรมให้เป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน เช่น ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง - ควรมีการจำกัดเวลาในการรับซื้อขยะอย่างชัดเจน - ควรมีการสำรองตำแหน่งเจ้าหน้าที่รับซื้อขยะ เวลาเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ - ควรมีการรณรงค์ทำความสะอาด (Big cleaning) หมู่บ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆเดือน ร่วมกับภาคีเครือข่าย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การรับซื้อขยะที่ธนาคารเป็นไปด้วยความล่าช้าในบางครั้งที่รับซื้อ

เจ้าหน้าที่รับซื้อไม่เพียงพอต่อผู้ขาย

ควรมีการสำรองตำแหน่งเจ้าหน้าที่รับซื้อขยะ เวลาเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน

รหัสโครงการ 61-8282-2-9 ระยะเวลาโครงการ 26 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การบริหารจัดการธนาคารขยะชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

การปลูกผักครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กระบวนการคิดเพื่อส่วนรวม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่มธนาคารขยะชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

ธนาคารขยะชุมชน บ้านต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม และบ้านตัวอย่างในการปลูกผัก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ลดขยะครัวเรือน ปลูกผักกินเองในครัวเครือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

บริโภคผักปลอดสารพิษ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

จัดการลดขยะครัวเรือนโดยการคัดแยกขยะส่งขายธนาคารขยะรีไวเคิลในหมู่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

สร้างรายได้จากขยะรีไซเคิล

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ชุมชนสีเขียว ครัวเรือนต้องปลูกผักกินเองเพื่อสุขภาพที่ดี ครัวเรือนต้องไม่ทิ้งขยะเกลื่อนกลาด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เครือข่ายแกนนำต่างๆในชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. อถล. อปพร. แกนนำครอบครัว ผู้นำตามธรรมชาติ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ร่วมแก้ปัญหาจากข้อมูลปีที่ผ่านมา

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ใช้บุคคลในชุมชนเป็นกรรมการธนาคารขยะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ดำเนินการประจำทุกเดือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ใช้้ข้อมูลปีที่ผ่านมา แก้ปัญหาขยะเกลื่อนกลาด โดยพัฒนาให้มีการคัดแยก และนำส่งธนาคารขยะ เพื่อสร้างรายได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การสร้างกลุ่มธนาคารสำเร็จด้วยความร่วมมือของชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ความร่วมมือในการคัดแยกขยะครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การปลูกผักในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ความร่วมมือในการแก้ปัญหาชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

สร้างธนาคารขยะชุมชนเพื่อสร้างรายได้ให้ครัวเรือนและลดปริมาณขยะในชุมชนโดยอาศัยความรู้ในการคัดแยกขยะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน เพื่อหมู่บ้านสะอาด สร้างรอยยิ้มให้คนป่าโอน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-8282-2-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นส.นฤมล หมันตะเห ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 6 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด