กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาด โรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางทรงศรี มะโรหบุตร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฎิบัติการ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาด โรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 5 - 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาด โรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาด โรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาด โรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 5 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 245,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคติดต่อชนิดสัตว์ติดคนที่มีอันตรายและน่าสะพรึงกลัวเป็นอย่างยิ่ง คนหรือสัตว์ที่เป็นโรคนี้แล้วไม่มีทางรักษาให้หายได้ผู้ป่วยทุกรายจะต้องตาย ถึงแม้ว่าในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้พยายามกำจัดโรคนี้ให้หมดไป แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ และภายหลังจากมีจากมีพระบรมราชโองการให้ประกาศใช้ "พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. 2535" มีผลทำให้สถิติของผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าลดลงอย่างต่อเนื่องแล้วก็ตาม แต่ในการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ายังคงมีอยู่เพื่อกำจัดโรคนี้ให้หมดไป เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินกิจกรรมควบคู่กันไปหลายประการ และทุกกิจกรรมจะต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้กรอบของกฎหมายที่กำหนดไว้ เช่น การสร้างภูมิโรคจากการให้วัคซีน การลดจำนวนสุนัขจรจัด การควบคุมอัตราการเกิดของสุนัขเลี้ยงและแมว การให้ความรู้ประชาชน และตระหนักถึงความสำคัญของโรค ในพื้นที่ของเทศบาลนครยะลา มีสุนัขและแมว จำนวนเกือบ 5,000 ตัว จากการสำรวจผ่านกลุ่มงานสัตวแพทย์ มีสุนัขและแมวประมาณ 3,000 ตัวโดยประมาณที่ได้รับการฉีดวัคซีน จากสถานบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 60อีกร้อยละ 40 ทางงานสัตวแพทย์ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา กำลังดำเนินการเร่งฉีดทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาลบริเวณใกล้เคียงประกอบกับข้อมูลเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ได้มีการประกาศกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราวตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 พบสุนัขที่ติดเชื้อพิษสุนัขบ้า ณ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดยะลา ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งยังไม่ทราบเจ้าของที่มาทิ้งสุนัขที่เป็นโรคดังกล่าว จากปัญหาดังกล่าวเพื่อเป็นการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากสัตว์ไปสู่คน กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรคสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา ในฐานะผู้รับผิดชอบงานสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการแก้ไข เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้าให้ความรู้แก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป ได้เล็งเห็นความสำคัญและอันตรายจากโรคพิษสุนัขบ้า ให้มีความเข้าใจและร่วมกันดูแลรักษาสัตว์เลี้ยงของตนเองให้ได้รับวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี ตลอดจนควบคุมจำนวนสัตว์เลี้ยงไม่ให้มีจำนวนมากเกินไป ซึ่งจะเป็นการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ตามแนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้าภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และดูแลรักษาโรคในคน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า
  2. 2. เพื่อให้แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  3. 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 60 คน (สถานที่ห้องประชุมเทศบาลนครยะลา)
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่ แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ครู แกนนำนักเรียน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 350 คน ระยะเวลา 1 วัน (สถานที่ห้องประชุมของเอกชน)
  3. กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษ สุนัขบ้า ให้แก่ ครู อาจารย์ และนักเรียน ของโรงเรียนในเขตเทศบาล จำนวน 10 โรงเรียนๆ ละ 100 คน รวมทั้งหมด 1,000 คน ระยะเวลาครึ่งวันบ่าย
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมรณรงค์และการประชาสัมพันธ์
  5. กิจกรรมที่ 5 จัดประชุมสรุปและประเมินผลการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าและไม่มีผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้า 2. สัตว์เลี้ยงไม่เป็นพาหะนำโรคพิษสุนัขบ้ามาสู่คน 3. เจ้าของสัตว์เลี้ยงมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบในการเลี้ยงสัตว์ และได้รับความรู้ในการดูแลสัตว์เลี้ยงให้ปลอดจากโรคพิษสุนัขบ้า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของการป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า
0.00

 

2 2. เพื่อให้แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

3 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยของประชาชนด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 2. อัตราการตายของประชาชนจากโรคพิษสุนัขบ้า 3. อัตราป่วยหรือตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง 4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า (2) 2. เพื่อให้แกนนำชุมชน  อาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า  (3) 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 60 คน (สถานที่ห้องประชุมเทศบาลนครยะลา) (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่    แกนนำชุมชน  อาสาสมัครสาธารณสุข ครู แกนนำนักเรียน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ และเจ้าหน้าที่    ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 350 คน ระยะเวลา 1 วัน  (สถานที่ห้องประชุมของเอกชน) (3) กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษ  สุนัขบ้า ให้แก่ ครู อาจารย์ และนักเรียน ของโรงเรียนในเขตเทศบาล จำนวน 10 โรงเรียนๆ ละ 100 คน รวมทั้งหมด 1,000 คน ระยะเวลาครึ่งวันบ่าย (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมรณรงค์และการประชาสัมพันธ์ (5) กิจกรรมที่ 5 จัดประชุมสรุปและประเมินผลการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า  เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาด โรคพิษสุนัขบ้าในเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 5 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทรงศรี มะโรหบุตร ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฎิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด