โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 ”
ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาอีหม๊ะ มาหิเละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560
ที่อยู่ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่เดือนมกราคม 2559- ธันวาคม 2559 การระบาดของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดปัตตานีจะแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายนและช่วงเดือนพฤศจิกายน – มกราคม โดยพบจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 639 ราย อำเภอยะรังพบผู้ป่วย จำนวน 73 รายคิดเป็นร้อยละ 88.30 ต่อแสนประชากร และตำบลวัด พบผู้ป่วย 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 787.59ต่อแสนประชากร ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวัด จึงต้องมีการเฝ้าระวังป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพและการควบคุมโรคที่ได้ผล โดยมีกระบวนการทำงานเป็นทีม การมีส่วนร่วมของชุมชน และมาตรการการควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งหน่วยบริการสาธารณสุขระดับพื้นที่จำเป็นต้องจัดทำแผนในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันไม่ให้มีลูกน้ำยุงลาย เน้นการป้องกันทางกายภาพ โดยการปรับเปลี่ยนน้ำทุก ๕-๗ วัน และทางชีวภาพ ได้แก่การใช้ปลากินลูกน้ำ ทางเคมีได้แก่การฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวแก่ตามหลังคาเรือนในช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 2. เพื่อรณรงค์และเร่งรัดการป้องกันโดยเน้นกิจกรรมทางกายภาพชีวภาพและเคมีจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง
เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
- ปริมาณการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต
- ชุมชนให้ความสำคัญ เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่อย่างจริงจังต่อเนื่อง จนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงแนวทางและหามาตรการควบคุมป้องกันโรค
วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เครือข่ายสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ พร้อมให้การสนับสนุนและประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว
2.เครือข่ายสุขภาพเตรียมพร้อมให้ความร่วมมือ เช่น จัดทีมชุดปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในชุมชน การสำรวจลูกน้ำยุงลาย
3.การให้ความร่วมมือ/สนับสนุน แจ้งรายงานเมื่อพบผู้สงสัยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้ รพ.สต.ทราบ
20
20
2. สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้านทุกหลังคาเรือน
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม.จำนวน 50 คน สำรวจลูกน้ำยุงลาย ในละแวกบ้านที่รับผิดชอบ และส่งรายงานให้ รพ.สต.ทุก 1 เดือน
เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มการระบาดของโรคไข้เลือดออก
0
0
3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์เรื่องไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน
2.ติดตั้งป้ายรณรงค์ไข้เลือดออก
0
50
4. พ่นหมอกควันพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง ทุกเดือน
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในหมู่บ้าน เฉพาะพื้นเสี่ยง จำนวน 400 หลัง และ ในโรงเรียน 2 โรง
0
200
5. แจกสารเคมี(ทรายอะเบท) กำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือน
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลูกน้ำยุงลายลดลง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
0
400
6. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่1 โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพ
วันที่ 12 มิถุนายน 2560 เวลา 08.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากเวทีประชุม war room เพื่อนำเสนอสถานโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวัดพบว่า
1.ภาคีเครือข่ายสุขภาพได้ให้การประชาสัมพันธ์ในชุมชน ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออก
2.ได้จัดชุดทีมปฏิบัติการพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยงที่เกิดไข้เลือดออกเช่น โรงเรียน ละแวกบ้านที่อยู่ใกล้กับสวนยาง
3.การติดตตาม ดัชนีลูกน้ำยุงลายและวิเคราะห์แนวโน้มการระบาด
20
20
7. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ให้กับแก่ตัวแทนแม่บ้าน
วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก สามารถนำไปควบคุมป้องกันได้ด้วยตนเองเช่น
การกำจัดลูกน้ำและแหล่งเพาะ การจัดสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านให้สะอาด และไปถ่ายทอดความรู้
ให้กับเพื่อนบ้านได้
100
100
8. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 2
วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เครือข่ายสุขภาพนำข้อมูลจากเวที war room ไปควบคุมป้องกันโรคในชุมชน
โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม
20
20
9. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 3
วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เครือข่ายสุขภาพนำข้อมูลจากเวที war room ไปควบคุมป้องกันโรคในชุมชน
โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม และสร้างความตระหนัก
20
20
10. ให้สุขศึกษาโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ศาสนสถานและในโรงเรียน
วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีความรู้ นำไปปฏิบัติควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในบ้านและบริเวณบ้าน
ทำให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
0
300
11. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 4
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เครือข่ายสุขภาพนำข้อมูลจากเวที war room ไปควบคุมป้องกันโรคในชุมชน
โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม และสร้างความตระหนัก
20
20
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 ดังนี้
จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี 2559 ในตำบลวัด พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมดจำนวน 33 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 787.59 ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย และหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2560 พบว่า
1. ตำบลวัดพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 6 รายคิดเป็นอัตราป่วย 111.65 ต่อแสนประชากร ซึ่งลดลงจากปี 2559
2.ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออกมากขึ้น
3.ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลายทำให้การะบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงจากปีที่2559
4.ไม่มีรายพบผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกมากกว่าร้อยละ 90
2
2. เพื่อรณรงค์และเร่งรัดการป้องกันโดยเน้นกิจกรรมทางกายภาพชีวภาพและเคมีจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1.ความชุกของลูกน้ำยุงลาย
-ร้อยละ 80 ของหมู่บ้าน/ชุมชน มีค่า HIน้อยกว่า 10
-ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ศาสนสถาน หน่วยงาน มีค่า CI เท่ากับ 0
2.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในตำบล ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
-หมู่บ้านที่มีประชากรน้อยกว่า 2000 คนไม่มีผู้ป่วย
-หมู่บ้านที่มีประชากรระหว่าง 2,001 – 3,999 คนมีผู้ป่วยได้ไม่เกิน 1 ราย
-หมู่บ้านที่มีประชากรระหว่าง 4,000 – 5,999 คนมีผู้ป่วยได้ไม่เกิน 2 ราย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อรณรงค์และเร่งรัดการป้องกันโดยเน้นกิจกรรมทางกายภาพชีวภาพและเคมีจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนาอีหม๊ะ มาหิเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 ”
ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาอีหม๊ะ มาหิเละ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่เดือนมกราคม 2559- ธันวาคม 2559 การระบาดของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดปัตตานีจะแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายนและช่วงเดือนพฤศจิกายน – มกราคม โดยพบจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 639 ราย อำเภอยะรังพบผู้ป่วย จำนวน 73 รายคิดเป็นร้อยละ 88.30 ต่อแสนประชากร และตำบลวัด พบผู้ป่วย 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 787.59ต่อแสนประชากร ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวัด จึงต้องมีการเฝ้าระวังป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพและการควบคุมโรคที่ได้ผล โดยมีกระบวนการทำงานเป็นทีม การมีส่วนร่วมของชุมชน และมาตรการการควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งหน่วยบริการสาธารณสุขระดับพื้นที่จำเป็นต้องจัดทำแผนในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันไม่ให้มีลูกน้ำยุงลาย เน้นการป้องกันทางกายภาพ โดยการปรับเปลี่ยนน้ำทุก ๕-๗ วัน และทางชีวภาพ ได้แก่การใช้ปลากินลูกน้ำ ทางเคมีได้แก่การฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวแก่ตามหลังคาเรือนในช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- 2. เพื่อรณรงค์และเร่งรัดการป้องกันโดยเน้นกิจกรรมทางกายภาพชีวภาพและเคมีจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
- ปริมาณการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต
- ชุมชนให้ความสำคัญ เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่อย่างจริงจังต่อเนื่อง จนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงแนวทางและหามาตรการควบคุมป้องกันโรค |
||
วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เครือข่ายสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ พร้อมให้การสนับสนุนและประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว 2.เครือข่ายสุขภาพเตรียมพร้อมให้ความร่วมมือ เช่น จัดทีมชุดปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในชุมชน การสำรวจลูกน้ำยุงลาย 3.การให้ความร่วมมือ/สนับสนุน แจ้งรายงานเมื่อพบผู้สงสัยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้ รพ.สต.ทราบ
|
20 | 20 |
2. สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้านทุกหลังคาเรือน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม.จำนวน 50 คน สำรวจลูกน้ำยุงลาย ในละแวกบ้านที่รับผิดชอบ และส่งรายงานให้ รพ.สต.ทุก 1 เดือน เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มการระบาดของโรคไข้เลือดออก
|
0 | 0 |
3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์เรื่องไข้เลือดออกในหมู่บ้าน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.กิจกรรมเดินรณรงค์ในชุมชน 2.ติดตั้งป้ายรณรงค์ไข้เลือดออก
|
0 | 50 |
4. พ่นหมอกควันพ่นหมอกควันในพื้นที่เสี่ยง ทุกเดือน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในหมู่บ้าน เฉพาะพื้นเสี่ยง จำนวน 400 หลัง และ ในโรงเรียน 2 โรง
|
0 | 200 |
5. แจกสารเคมี(ทรายอะเบท) กำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลูกน้ำยุงลายลดลง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
|
0 | 400 |
6. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่1 โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพ |
||
วันที่ 12 มิถุนายน 2560 เวลา 08.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากเวทีประชุม war room เพื่อนำเสนอสถานโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวัดพบว่า
1.ภาคีเครือข่ายสุขภาพได้ให้การประชาสัมพันธ์ในชุมชน ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออก
|
20 | 20 |
7. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ให้กับแก่ตัวแทนแม่บ้าน |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก สามารถนำไปควบคุมป้องกันได้ด้วยตนเองเช่น การกำจัดลูกน้ำและแหล่งเพาะ การจัดสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านให้สะอาด และไปถ่ายทอดความรู้ ให้กับเพื่อนบ้านได้
|
100 | 100 |
8. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเครือข่ายสุขภาพนำข้อมูลจากเวที war room ไปควบคุมป้องกันโรคในชุมชน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม
|
20 | 20 |
9. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเครือข่ายสุขภาพนำข้อมูลจากเวที war room ไปควบคุมป้องกันโรคในชุมชน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม และสร้างความตระหนัก
|
20 | 20 |
10. ให้สุขศึกษาโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน ศาสนสถานและในโรงเรียน |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีความรู้ นำไปปฏิบัติควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในบ้านและบริเวณบ้าน ทำให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
|
0 | 300 |
11. จัดประชุม War Room การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเครือข่ายสุขภาพนำข้อมูลจากเวที war room ไปควบคุมป้องกันโรคในชุมชน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม และสร้างความตระหนัก
|
20 | 20 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 ดังนี้
จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี 2559 ในตำบลวัด พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมดจำนวน 33 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 787.59 ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย และหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2560 พบว่า
1. ตำบลวัดพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 6 รายคิดเป็นอัตราป่วย 111.65 ต่อแสนประชากร ซึ่งลดลงจากปี 2559
2.ประชาชนให้ความสำคัญและตระหนักในการป้องกันไข้เลือดออกมากขึ้น
3.ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลายทำให้การะบาดของโรคไข้เลือดออกลดลงจากปีที่2559
4.ไม่มีรายพบผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออกมากกว่าร้อยละ 90 |
|
|||
2 | 2. เพื่อรณรงค์และเร่งรัดการป้องกันโดยเน้นกิจกรรมทางกายภาพชีวภาพและเคมีจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 1.ความชุกของลูกน้ำยุงลาย -ร้อยละ 80 ของหมู่บ้าน/ชุมชน มีค่า HIน้อยกว่า 10 -ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ศาสนสถาน หน่วยงาน มีค่า CI เท่ากับ 0 2.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในตำบล ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร -หมู่บ้านที่มีประชากรน้อยกว่า 2000 คนไม่มีผู้ป่วย -หมู่บ้านที่มีประชากรระหว่าง 2,001 – 3,999 คนมีผู้ป่วยได้ไม่เกิน 1 ราย -หมู่บ้านที่มีประชากรระหว่าง 4,000 – 5,999 คนมีผู้ป่วยได้ไม่เกิน 2 ราย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อรณรงค์และเร่งรัดการป้องกันโดยเน้นกิจกรรมทางกายภาพชีวภาพและเคมีจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ บ้าน โรงเรียน ชุมชน ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลวัด อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนาอีหม๊ะ มาหิเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......