กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการเด็กแข็งแรงสมวัยห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาววาสนา ทรัพย์มี

ชื่อโครงการ โครงการเด็กแข็งแรงสมวัยห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5281-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กแข็งแรงสมวัยห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กแข็งแรงสมวัยห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กแข็งแรงสมวัยห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็กเป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคอ้วน,เบาหวาน, ความดันโลหิต, โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคกระดูกพรุน และมะเร็งบางชนิด เป็นต้น จากบทความของ พญ.นิภาภัทร์ วิศวชัยพันธ์ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านต่อมไร้ท่อและเบาหวาน ศูนย์กุมารเวช โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้กล่าวว่า เด็กที่ขาดอาหารเรื้อรังจะทำให้มีภาวะเตี้ยและมีพัฒนาการที่ไม่สมวัย (พญ.นิภาภัทร์ วิศวชัยพันธ์,2552,ลูกตัวเตี้ยอย่างไรเรียกว่าเตี้ย) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาแบบองค์รวมของเด็กไทย ปี 2544 โดย รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ พบว่า ค่าเฉลี่ยระดับเชาว์ปัญญาของเด็กอายุ 2-18 ปีแปรตามส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเด็กเตี้ย(stunting) มีค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเด็กที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง และสูง ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาในต่างประเทศ Victoria และคณะ ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะทุพโภชนาการในวัยเด็กกับต้นทุนด้านมนุษย์ (human capital) และความเสี่ยงต่อโรคในวัยผู้ใหญ่ โดยวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาแบบติดตามประชากรในระยะยาว (Prospective cohot study) จำนวน 5 การศึกษา ในประเทศที่มีรายได้ต่ำถึงปานกลาง คือ บราซิล กัวเตมาลา อินเดีย ฟิลิปปินส์ และแอฟริกาใต้ พบว่า การขาดอาหารในช่วงแรกของชีวิต ได้แก่ ภาวะเติบโตช้าในครรภ์มารดาและภาวะเตี้ยในเด็กต่ำกว่า 6 ปี มีผลเสียอย่างถาวรต่อเนื่องไปถึงวัยผู้ใหญ่และยังต่อไปถึงรุ่นลูก โดยมีความสัมพันธ์ในด้านลบกับการศึกษาและรายได้ ในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งน้ำหนักแรกเกิดของลูกในรุ่นต่อไปด้วย (คู่มือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ,2558, สำนักโภชนาการ กรมอนามัย)
จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิด–5 ปี อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2560 (รวม 4 ไตรมาส) พบว่าเด็กแรกเกิด – 5 ปี จังหวัดสตูล มีส่วนสูงที่ดีและมีรูปร่างที่สมส่วน ต่ำกว่าเป้าหมายตัวชี้วัดคือร้อยละ 47.68 (เป้าหมายร้อยละ 51) และยังมีปัญหาเด็กเตี้ยและเด็กผอมมากกว่าเกณฑ์ มีส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี น้อยกว่าเกณฑ์ด้วย
ดังนั้น การลดภาวะเตี้ย และการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงดี รูปร่างสมส่วน วิธีการหนึ่งที่สามารถทำได้คือการให้เด็กได้รับอาหารที่เพียงพอและครบทุกหมู่ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และควรทำการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพื่อป้องกันผลเสียที่อาจมีต่อเนื่องไปถึงวัยผู้ใหญ่ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในอนาคตต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมแก่ผู้ปกครองของเด็ก
  2. เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลด้านโภชนาการของเด็กแก่ อสม
  3. เพื่อส่งเสริมการทำงานเครือข่ายบริการด้านการส่งเสริมโภชนาการของเด็ก
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลด้านโภชนาการเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะทุพโภชนาการที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ และฝึกทักษะการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการและสามารถหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการที่เกิดขึ้นกับเด็กได้อย่างถูกต้อง 2.ผู้ปกครองมีความตระหนักในการดูแลด้านโภชนาการเด็กและการกินอาหารที่มีประโยชน์ 3.อสม มีความรู้และเชี่ยวชาญมากขึ้นในการดำเนินงานโภชนาการ 4.เกิดบูรณาการเคือข่ายสุขภาพภาคประชาชนมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ และฝึกทักษะการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก

วันที่ 25 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม

 

115 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมแก่ผู้ปกครองของเด็ก
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลด้านโภชนาการของเด็กแก่ อสม
ตัวชี้วัด : อสม มีความรู้และทักษะในการดูแลด้านโภชนาการของเด็ก มากขึ้น
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการทำงานเครือข่ายบริการด้านการส่งเสริมโภชนาการของเด็ก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลด้านโภชนาการเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะทุพโภชนาการที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลด้านโภชนาการเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะทุพโภชนาการที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กได้มากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 115
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมแก่ผู้ปกครองของเด็ก (2) เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลด้านโภชนาการของเด็กแก่ อสม (3) เพื่อส่งเสริมการทำงานเครือข่ายบริการด้านการส่งเสริมโภชนาการของเด็ก (4) เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลด้านโภชนาการเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะทุพโภชนาการที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนาการ และฝึกทักษะการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กแข็งแรงสมวัยห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5281-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววาสนา ทรัพย์มี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด