กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการ ส่งเสริมความรู้เพื่อนำไปสู่การป้องการ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ปี.ในหมู่บ้านนำร่องหมู่ 1 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาภรณ์ พรหมแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมความรู้เพื่อนำไปสู่การป้องการ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ปี.ในหมู่บ้านนำร่องหมู่ 1

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5281-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมความรู้เพื่อนำไปสู่การป้องการ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ปี.ในหมู่บ้านนำร่องหมู่ 1 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมความรู้เพื่อนำไปสู่การป้องการ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ปี.ในหมู่บ้านนำร่องหมู่ 1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมความรู้เพื่อนำไปสู่การป้องการ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ปี.ในหมู่บ้านนำร่องหมู่ 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลของสำนักงานโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้สรุปสถานการณ์การตกน้ำ-จมน้ำของเด็ก พบว่า จากทั่วโลกกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการตกน้ำ-จมน้ำ ปีละ 135,585คน หรือเฉลี่ยวันละ 372 คน ส่วนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจำนวนปีละ 32,744 คน เฉลี่ยวันละ 90 คน ขณะที่ประเทศไทยมีเด็กที่เสียชีวิตจากการจมน้ำมากกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว5-15 เท่าตัวเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี เมื่อเทียบกับการเสียชีวิตจากสาเหตุอื่น สูงกว่าสาเหตุจากการจราจรประมาณ 2 เท่าตัว และมากกว่าไข้จากจากเชื้อไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะและไข้เลือดออกถึง 24 เท่าตัว คิดเป็นจำนวนปีละ 1,420 คน หรือ วันละ 4 คนโดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอัตราการเสียชีวิตสูงสูด รองลงมาคือภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ โดยช่วงเวลาที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุดคือช่วงปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน แหล่งน้ำที่เด็กเสียชีวิตมากที่สุดคือแหล่งน้ำธรรมชาติ ร้อยละ49.9 รองลงมาคือสระว่ายน้ำ ร้อยละ 5.4 และอ่างอาบน้ำร้อยละ 2.5 โดยเด็กที่จมน้ำส่วนใหญ่จะเป็นผู้ชายอัตราส่วนผู้ชายต่อผู้หญิงประมาณ 2 ต่อ 1 และยังมีข้อมูลการเปรียบเทียบในเมืองกับชนบท กับจำนวนเด็กที่ตาย พบว่า เด็กอายุมากกว่า 5 ปีขึ้นไปในชนบทจะตายมากกว่าในเมือง แต่ถ้าเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในเมืองจะตายมากกว่าในชนบท สำหรับสถานการณ์การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ของจังหวัดสตูลในปี 2561นี้ มีเด็กต่ำกว่า 15 ปีเสียชีวิตแล้ว จำนวน 4 คน จาก 4 อำเภอคือ อำเภอเมือง ควนโดน ท่าแพ ละงู ทำให้อัตราการเสียชิวิตของเด็กอายุต่ากว่า 15 ปีของสตูลตั้งแต่ต้นปีจนถึงปัจจุบันคือ 5.95ต่อแสนประชากรเป้าหมายซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กระทรวงกำหนด(≤ 4.5 ต่อแสนประชากร) ทั้งนี้ถึงแม้อำเภอควนกาหลง หรือในเขตพื้นที่หมู่บ้านของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง 5 หมู่บ้าน แม้จะยังไม่มีเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำแต่เนื่องจากในพื้นมีแหล่งน้ำธรรมชาติ และแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นมีเกือบทุกหมู่บ้าน ยิ่งกว่านั้น ในบริเวณของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทองเองก็จะมีสระน้ำอยู่ด้านข้าง ซึ่งในช่วงวันหยุดหรือช่วงปิดภาคการศึกษาจะมีเด็กในพื้นที่ของหมู่ที่ตั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จะมาแอบลงไปเล่นน้ำอยู่บ่อยครั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง จึงเล็งเห็นความสำคัญของการที่ต้องมีมาตรการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์จมน้ำของเด็กในพื้นที่ขึ้นในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อมุ่งเน้นให้ความรู้แก่เด็กกลุ่มเสี่ยง ในพื้นที่รวมทั้งผู้ปกครองที่มีเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี ด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำแก่ผู้ปกครอง
  2. เพื่อเพิ่มทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำแก่เด็กกลุ่มเสี่ยงอายุ 6 ปีขึ้นไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กโดยวิธีบรรยายในห้องประชุม
  2. การสาธิตและฝึกปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในเรื่องการป้องกันการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 2.ผู้ปกครองเกิดการเรียนรู้และสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านหรือสามรถกำจัดจุดเสี่ยงที่จะทำให้เกิดเหตุการณ์จมน้ำของเด็กได้ตามความสามารถ 3.เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กโดยวิธีบรรยายในห้องประชุม

วันที่ 15 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เป้าหมาย 2.ติดต่อวิทยากรที่มีความรู้และความชำนาญเฉพาะ 3.จัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ที่จะใช้ในการจัดกิจกรรม มี 2 แบบ คือ 1. บรรยายให้ความรู้โดยวิทยากรผู้มีความรู้เฉพาะ 2. สาธิตโดยวิทยากรที่ผ่านการอบรม ฝึกปฏิบัติโดยทีมวิทยากรที่ผ่านการอบรม โดยให้สถานที่สระน้ำในบริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม

 

60 0

2. การสาธิตและฝึกปฏิบัติ

วันที่ 15 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เป้าหมาย 2.ติดต่อวิทยากรที่มีความรู้และความชำนาญเฉพาะ 3.จัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ที่จะใช้ในการจัดกิจกรรม มี 2 แบบ คือ 1. บรรยายให้ความรู้โดยวิทยากรผู้มีความรู้เฉพาะ 2. สาธิตโดยวิทยากรที่ผ่านการอบรม ฝึกปฏิบัติโดยทีมวิทยากรที่ผ่านการอบรม โดยให้สถานที่สระน้ำในบริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำแก่ผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ไม่เกิดเหตุการณ์เสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุที่ต่ำกว่า 15เกิดขี้นภายในบริเวณบ้านของผู้ปกครองเด็กกลุ่มเสี่ยง
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำแก่เด็กกลุ่มเสี่ยงอายุ 6 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชิวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เท่ากับ 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำแก่ผู้ปกครอง (2) เพื่อเพิ่มทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำแก่เด็กกลุ่มเสี่ยงอายุ 6 ปีขึ้นไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและเด็กโดยวิธีบรรยายในห้องประชุม (2) การสาธิตและฝึกปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมความรู้เพื่อนำไปสู่การป้องการ การเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ปี.ในหมู่บ้านนำร่องหมู่ 1 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5281-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภาภรณ์ พรหมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด