โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ ”
ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชนาฏ หยาหลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย
ธันวาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้วจะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น เบาหวานความดันโลหิตสูงภาวะโลหิตจางโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)ภาวะการติดเชื้อ HIVจากแม่สู่ลูกเป็นต้นปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้วจะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็ก ในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์คลอดและหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖เดือน ดังนั้นหญิงมีครรภ์ควรต้องรู้จักวิธีการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม ในเรื่องต่าง ๆ เช่นอาหารการออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพอนามัย การเลือกใช้ยา ภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ และการปฏิบัติตนต่างๆ รวมไปถึงการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ระยะหลังคลอดเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายของมารดาหลังคลอดทารกเปลี่ยนแปลงคืนสู่สภาพก่อนตั้งครรภ์ทั้งด้านกายวิภาคและสรีระ องค์การอนามัยโลกได้กำหนดเวลาของระยะนี้ไว้ ๖สัปดาห์หรือ ๔๒วัน นับจากวันคลอดทารก ในระยะหลังคลอดนอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายแล้วยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจด้วย นอกจากนี้ยังเป็นระยะที่อาจเกิดอันตรายจากการตกเลือด (Post partum hemorrhage) และการติดเชื้อ (Puerperal Infection) อันเป็นสาเหตุการตายของมารดาที่สำคัญในประเทศด้อยพัฒนารวมทั้งประเทศไทยด้วย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลงจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพแม่ลูกหลังคลอดอย่างมีคุณภาพ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยเพื่อให้เด็กที่อยู่ในครรภ์และที่จะเกิดมาในอนาคตได้รับการดูแลที่ถูกวิธีเพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีและเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคตและยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัวจึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูกประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน
- เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี
- กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข
- กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดได้อย่าง ถูกต้อง
๒.หญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
๓.หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
๔.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตลอดจนทารกมีสุขภาพกายสมบูรณ์แข็งแรง และสุขภาพจิตดี
๕.อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดได้อย่าง ถูกต้องสามารถประเมินภาวะผิดปกติและส่งต่อทันท่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข
วันที่ 8 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม
85
0
2. กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี
วันที่ 6 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม
20
0
3. กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด
วันที่ 7 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพภ่ายกิจกรรม
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
0.00
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
0.00
3
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕
0.00
4
เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : - อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
- จากการตรวจวัดพัฒนาการเด็ก ๐-๕ปี มีพัฒนการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
145
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
85
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน (4) เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี (2) กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข (3) กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนุชนาฏ หยาหลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ ”
ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชนาฏ หยาหลี
ธันวาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5281-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้วจะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น เบาหวานความดันโลหิตสูงภาวะโลหิตจางโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)ภาวะการติดเชื้อ HIVจากแม่สู่ลูกเป็นต้นปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้วจะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็ก ในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์คลอดและหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖เดือน ดังนั้นหญิงมีครรภ์ควรต้องรู้จักวิธีการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม ในเรื่องต่าง ๆ เช่นอาหารการออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพอนามัย การเลือกใช้ยา ภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ และการปฏิบัติตนต่างๆ รวมไปถึงการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ระยะหลังคลอดเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายของมารดาหลังคลอดทารกเปลี่ยนแปลงคืนสู่สภาพก่อนตั้งครรภ์ทั้งด้านกายวิภาคและสรีระ องค์การอนามัยโลกได้กำหนดเวลาของระยะนี้ไว้ ๖สัปดาห์หรือ ๔๒วัน นับจากวันคลอดทารก ในระยะหลังคลอดนอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายแล้วยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจด้วย นอกจากนี้ยังเป็นระยะที่อาจเกิดอันตรายจากการตกเลือด (Post partum hemorrhage) และการติดเชื้อ (Puerperal Infection) อันเป็นสาเหตุการตายของมารดาที่สำคัญในประเทศด้อยพัฒนารวมทั้งประเทศไทยด้วย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลงจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพแม่ลูกหลังคลอดอย่างมีคุณภาพ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยเพื่อให้เด็กที่อยู่ในครรภ์และที่จะเกิดมาในอนาคตได้รับการดูแลที่ถูกวิธีเพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีและเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคตและยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัวจึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูกประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน
- เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี
- กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข
- กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 85 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดได้อย่าง ถูกต้อง ๒.หญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ๓.หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ๔.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตลอดจนทารกมีสุขภาพกายสมบูรณ์แข็งแรง และสุขภาพจิตดี ๕.อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดได้อย่าง ถูกต้องสามารถประเมินภาวะผิดปกติและส่งต่อทันท่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม
|
85 | 0 |
2. กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี |
||
วันที่ 6 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพถ่ายกิจกรรม
|
20 | 0 |
3. กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด |
||
วันที่ 7 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงานสามารถติดตามได้ที่กองทุนหรือภาพภ่ายกิจกรรม
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕ |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้ ตัวชี้วัด : - อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ - จากการตรวจวัดพัฒนาการเด็ก ๐-๕ปี มีพัฒนการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 145 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 85 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน (4) เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี (2) กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข (3) กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เยี่ยมแม่ดูแลลูก ในปีงบประมาณ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5281-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนุชนาฏ หยาหลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......