กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางกมลรัตน์พรหมภักดี




ชื่อโครงการ โครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2492-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของตำบลโคกเคียนและมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ปัจจัยสาเหตุของโรคเกิดจากการขาดการดูแลสุขภาพของตนเอง และการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา คือ โรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งมีอัตราการเสียชีวิตที่สูงขึ้นทุก ๆ ปี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลาย ๆมาตรการทุกรูปแบบในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและกระตุ้นเตือนให้เกิดการตระหนักตื่นตัวของประชาชนในทุกพื้นที่ โดยการตรวจ คัดกรองและดูแลสุขภาพสื่อสารความเสี่ยงเตือนภัยในประชาชนกลุ่มเสี่ยงให้รับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงและอันตรายของ โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและร่วมมือกันดูแลสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรครวมถึงเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่าจะให้มีภาวะแทรกซ้อน จากผลการคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง อายุ๓๕ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบปีงบประมาณ ๒๕๕๙จำนวน ๒,๘๐๘ คน ร้อยละ๙๐.๗๘ พบผู้ป่วยเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑,๐๑๘ คนร้อยละ๓๖.๒๕ และพบผู้ป่วยรายใหม่ซึ่งได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ ๔๘รายร้อยละ ๔.๗๒ ของกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียนเล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย จึงได้จัดทำโครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  3. เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 280
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 352
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง ต่อเนื่อง ๓. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ออกคัดกรองกลุ่มเสี่ยง จำนวน 6 หมู่บ้าน

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -อสม.ออกสำรวจและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง -ทราบจำนวนกลุ่มเสี่ยง

     

    60 60

    2. อบรมให้ความรู้ ปรับพฤติกรรมผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยรายเก่าที่มีภาวะแทรกซ้อนรวมถึงเยี่ยมติดตาม

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -อบรมให้ความรู้ ปรับพฤติกรรมผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยรายเก่าที่มีภาวะแทรกซ้อนรวมถึงเยี่ยมติดตาม ผลลัพธ์ คือ ผู้ป่วยรายใหม่มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังต่อเนื่อง 

     

    405 405

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    -กิจกรรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยรายใหม่  จำนวน 45 คน -กิจกรรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง (จัดฐานแลกเปลี่ยนเรียนรู้) จำนวน 5 ฐาน จำนวน 110 คน -กิจกรรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเก่าที่มีภาวะแทรกซ้อน (จัดฐานแลกเปลี่ยนเรียนรู้) จำนวน 5 ฐาน จำนวน 100 คน -เยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยในชุมชนและให้ความรู้เป็นรายกลุ่ม จำนวน 150 คน
    -อสม.ออกคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง 6 หมู่บ้าน จำนวน 60 คน    

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 782
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 280
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 352
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและผู้ป่วยรายใหม่ทุกราย (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) เพื่อลดอัตราตายจากภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2492-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกมลรัตน์พรหมภักดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด