กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อ ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนี เลี่ยนกัตวา, นางกัลยา สนธ์น้อย,นางเจริญ คงสม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3341-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3341-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือเด็กอายุ 0- 5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน  ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร  ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน  ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก  โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม  การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง  การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง  และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (0-5 ปี) ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก  ในช่วงไตรมาสที่1 งวดที่ 1 ตุลาคม – 30 ธันวาคม 2560 เด็กอายุ 0-5 ปีทั้งหมด 326 คน ได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทั้งหมด 304 คน คิดเป็นร้อยละ 94.48 มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 23 คน คิดเป็นร้อยละ 7.46 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข  กำหนดให้ภาวะทุพโภชนาการมีไม่เกินร้อยละ 7 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ส่วนสูงเฉลี่ยอายุ 5 ปี ตามเกณฑ์ ร้อยละ 50.97 ซึ่งเกณฑ์ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2561  เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 จากข้อมูลสถิติจะเห็นไห้ได้ว่า เด็กอายุ 0-5 ปีในเขตรับผิดชอบยังมีปัญหาภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย       การดำเนินงานแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก โดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องมีความรู้ และมีเครื่องมืออุปกรณ์ในการติดตามเฝ้าระวังโภชนาการเด็กเพียงพอและได้มาตรฐานตามที่กำหนด จากสภาพปัญหาดังกล่าว เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อจัดทำโครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่ มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทุพโภชนาการ
  2. เพื่อ พัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องความรู้และการเฝ้าระวังทางโภชนาการ และการใช้เครื่องมือ ที่ถูกต้อง และ เหมาะสม
  3. เพื่อจัดให้มี และใช้เครื่องมือ การเฝ้าระวังทางโภชนาการ ในชุมชนอย่างเพียงพอและได้มาตรฐาน ของสำนักโภชนาการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  4. เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ )

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อย.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และการเลี้ยงดูเด็ก แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง เด็ก 0-5 ปี แบ่งเป็น 3 รุ่นๆละ 50 คน
  2. กิจกรรมย่อย จัดซื้อจัดจ้าง วัสดุอุปกรณ์ ตาม โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 326
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะทุพโภชนาการลดลง
  2. เด็กอายุ 0- 5 ปี  มีพัฒนาการทางร่างกายจิตใจ เจริญเติบโตสมวัย
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
  4. ชุมชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมย่อย.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และการเลี้ยงดูเด็ก แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง เด็ก 0-5 ปี แบ่งเป็น 3 รุ่นๆละ 50 คน

วันที่ 22 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุม ชี้แจง และประชาสัมพันธ์โครงการแก่ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการเลี้ยงดูเด็กแก่ อสม.และผู้ปกครองเด็ก 3.สนับสนุนอาหารเสริม(นมกล่อง UHTและไข่)แก่เด็กจำนวน 300 คน 4.วัสดุสำหรับการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.มีผู้เข้ารับการอบรม 150 คน 2.สนับสนุน อาหารเสริมแก่เด็ก 300 คน ผลลัพธ์ 1.เด็ก 0-5 ปี มีปัญหาทุพโภชนาการไม่เกินร้อยละ 7 2.เด็ก 0--5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54

 

150 0

2. กิจกรรมย่อย จัดซื้อจัดจ้าง วัสดุอุปกรณ์ ตาม โครงการ

วันที่ 12 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักแบบตัวลข เครื่องละ 1200 บาทจำนวน 3 เครื่อง เป็นเงิน 4,800 บาท -ค่าวัสดุ(นมกล่อง UHT) 2 กล่อง/คน จำนวน 300 กล่องเป็นเงิน 6,000 บาท -ค่าวัสดุ(ไข่ใก่)8 ฟอง/คน ฟองละ3.50 บาท จำนวน 300 ฟอง เป็นเงิน 8,400 บาท -ค่าวัสดุการอบรม 150 ชุดๆละ 50 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ครบตามจำนวน

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่ มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็ก 0- 5 ปีได้รับการ.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทาง โภชนาการ ทุก 3 เดือน ≥ร้อยละ90
94.48 0.00

 

2 เพื่อ พัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องความรู้และการเฝ้าระวังทางโภชนาการ และการใช้เครื่องมือ ที่ถูกต้อง และ เหมาะสม
ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้ สามารถชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเด็กและอ่านค่า ตัวเลขได้ถูกต้องและเที่ยงตรง
90.00

 

3 เพื่อจัดให้มี และใช้เครื่องมือ การเฝ้าระวังทางโภชนาการ ในชุมชนอย่างเพียงพอและได้มาตรฐาน ของสำนักโภชนาการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ชุมชน มีชุดเครื่องชั่ง น้ำหนัก และที่วัดส่วนสูง ที่ได้มาตรฐาน อย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ชุด
100.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ )
ตัวชี้วัด : 1.เด็ก0-5ปี มีปัญหาทุพโภชนาการไม่เกินร้อยละ 7 2.เด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 54
7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 326 320
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 326 320
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่      มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทุพโภชนาการ  (2) เพื่อ พัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องความรู้และการเฝ้าระวังทางโภชนาการ และการใช้เครื่องมือ ที่ถูกต้อง  และ เหมาะสม (3) เพื่อจัดให้มี และใช้เครื่องมือ การเฝ้าระวังทางโภชนาการ ในชุมชนอย่างเพียงพอและได้มาตรฐาน  ของสำนักโภชนาการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (4) เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ )

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อย.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และการเลี้ยงดูเด็ก แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง เด็ก 0-5 ปี แบ่งเป็น 3 รุ่นๆละ 50 คน (2) กิจกรรมย่อย จัดซื้อจัดจ้าง วัสดุอุปกรณ์  ตาม โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เด็กอายุ 0 – 5 ปี เครือข่ายเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3341-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนี เลี่ยนกัตวา, นางกัลยา สนธ์น้อย,นางเจริญ คงสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด