กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑ ”

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลนิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5296-2-25 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5296-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชุมชนครอบคลุมทุกเพศทุกวัยมีรูปแบบหลากหลายทั้งยาอาหารเสริม เครื่องสำอางและเครื่องมือแพทย์กล่าวอ้างสรรพคุณโอ้อวดเป็นเท็จ เกินความจริง โดยกลยุทธ์หลักคือการโฆษณา กระตุ้นความต้องการ อยากลอง อยากใช้ ให้เกิดความเชื่อถือศรัทธา ต่อผลิตภัณฑ์ เมื่อผู้ใช้หลงเชื่อถึงขั้นศรัทธาแล้ว เป็นการยากที่จะเปลี่ยนทัศนคติให้เข้าใจสิ่งที่ถูกต้องได้การโฆษณา ผ่านสื่อต่าง ๆ ทั้งทางวิทยุชุมชน โทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียมรถเร่ใบปลิวป้ายสื่อสิ่งพิมพ์ การขายตรงโดยสื่อบุคคลที่น่าเชื่อถือ ตามกลุ่มเป้าหมายของสินค้า นอกจากนี้ยังเสริมด้วยกลยุทธ์สร้างการยอมรับจากสังคมเช่น ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ให้สูง แสดงถึงฐานะผู้ใช้และทัศนคติ ของดี ราคาย่อมแพง เป็นผู้นำสมัยเป็นต้นในขณะที่ภาครัฐทั้งบุคลากรระเบียบ หลักเกณฑ์และกฎหมาย ไม่สามารถดำเนินการบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กฎหมายบางอย่างล้าสมัยและไม่ครอบคลุม บางประเด็นปัญหาไม่มีกฎหมายรองรับการป้องกัน แก้ไข และประการสำคัญ ผู้ดำเนินการในระดับชุมชนไม่สามารถใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเดียว จำเป็นต้องใช้มาตรการทางสังคมและหลักรัฐศาสตร์ ดำเนินการควบคู่ไปด้วยซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานเฝ้าระวังด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนของตำบลนิคมพัฒนา ในรอบปี 2559 พบว่าในชุมชนยังมีผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งอาหารเครื่องสำอาง ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ปลอดภัยจำหน่ายในชุมชนกันอย่างแพร่หลาย นอกจากนี้ยังรวมถึงสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอาหารถึงแม้จะผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด แต่ก็ยังมีประเด็นที่ต้องปรับปรุงให้ได้ตามมาตรฐานที่สูงขึ้นอีกหลายประเด็น ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนิคมพัฒนา จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนขึ้น เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนโดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนและอย.น้อยเป็นเครือข่ายดำเนินงาน ภายใต้การสนับสนุนจากคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล เน้นการใช้มาตรการทางสังคมควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อดำเนินการควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภค3.เพื่อพัฒนาสถานประกอบการทางด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารให้ผ่านมาตรฐานที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. กิจกรรมจัดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  3. กิจกรรมอบรมหลักสูตร อย.น้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และเกิดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชนที่มีประสิทธิภาพที่ต่อเนื่องภายใต้กลไกขับเคลื่อนคู่กันระหว่างมาตรการทางสังคมและมาตรการทางกฎหมายอันจะนำไปสู่การพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพอย่างแท้จริงในอนาคต


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐาน

วันที่ 17 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ในชุมชนหมู่ที่ 1-9
  • มีระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ

 

27 0

2. กิจกรรมจัดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

วันที่ 17 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมจัดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

 

100 0

3. กิจกรรมอบรมหลักสูตร อย.น้อย

วันที่ 18 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมหลักสูตร อย.น้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพของชุมชนที่มีประสิทธิภาพที่ต่อเนื่องภายใต้กลไกขับเคลื่อนคู่กันระหว่างมาตรการทางสังคมและมาตรการทางสังคมและมาตรการทางกฏหมายอันจะนำไปสู่การพึ่งตนเองได้ทางสุขภาพอย่างแท้จริงในอนาคต

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ 2.เพื่อดำเนินการควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภค3.เพื่อพัฒนาสถานประกอบการทางด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารให้ผ่านมาตรฐานที่กำหนด
ตัวชี้วัด : 1. มีเครือข่ายนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จำนวน 9 หมู่ๆบ้านละ 3 คน รวม 27 คน 2. มีเครือข่าย อย.น้อย โรงเรียนละ 10 คน จำนวน 5 โรงเรียน รวม 50 คน
177.00 177.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 77
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ
2.เพื่อดำเนินการควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภค3.เพื่อพัฒนาสถานประกอบการทางด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารให้ผ่านมาตรฐานที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) กิจกรรมจัดระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (3) กิจกรรมอบรมหลักสูตร อย.น้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบควบคุมและเฝ้าระวังทางด้านคุ้มครองผู้บริโภคและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา ปี ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5296-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลนิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด