กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมือง เทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางอุบลทิพย์ ไชยแสง หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมือง เทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 - 21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมือง เทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมือง เทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมือง เทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 - 21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,150.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มบุคคลที่ควรได้รับความสนใจ เนื่องจากเป็นกลุ่มประชากรที่มีแนวโน้ม จะเพิ่มขึ้นภายในสองทศวรรษหน้า ซึ่งในปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยจะมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุไม่น้อยกว่า 11 ล้านคน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2552) การเพิ่มของประชากรสูงอายุทำให้เกิดปัญหาตามมาเช่นปัญหาเศรษฐกิจสังคมและสุขภาพเนื่องจากผู้สูงอายุมีแบบแผนการเจ็บป่วยต่างจากวัยอื่นการเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องการการดูแลระยะยาวความเสื่อมถอยของกำลังร่างกายทำให้ศักยภาพในการทำงานลดลงผู้สูงอายุจึงไม่มีรายได้และจำเป็นต้องพึ่งพาผู้อื่นการต้องลดบทบาทในครอบครัวและสังคมทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกด้อยค่าขาดความภาคภูมิใจในตนเองขาดความสุขและต้องพึ่งพาผู้อื่นในการดำเนินชีวิตประกอบกับสภาพสังคมไทยปัจจุบันที่ความพร้อมในการดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลงทำให้ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ส่วนหนึ่งถูกครอบครัวทอดทิ้งหากไม่มีการเตรียมพร้อมในด้านการดูแลคุ้มครองผู้สูงอายุแล้วสถานการณ์การเพิ่มของประชากรสูงอายุจะกลายเป็นปัญหาสำคัญของประเทศในอนาคตอันใกล้ (วาทินี, 2554)
สุขภาวะทางจิต เป็นคุณลักษณะเชิงบวกทางจิตใจของบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ต่อตนเอง สิ่งแวดล้อมและแสดงถึงพัฒนาการของบุคคล (Ryff & Keyes, 1995) ดังนั้นการพัฒนาสุขภาวะทางจิตที่ยั่งยืนของบุคคล จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรศึกษาโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ จากการวัดสุขภาพจิตที่ใช้ข้อคำถามของกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขพบว่าผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีภาวะสุขภาพจิตอยู่ในเกณฑ์เท่ากับคนทั่วไปต่ำกว่ากลุ่มอายุอื่นซึ่งในปี พ.ศ.2553 คะแนนเฉลี่ยจะอยู่ที่ 32.87 นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุเกือบหนึ่งในสามมีคะแนนเฉลี่ยของแบบวัดสุขภาพจิตที่ต่ำกว่าคนทั่วไปซึ่งถือเป็นผู้ที่มีความเปราะบางด้านจิตใจ และจากการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2556 พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาด้านจิตใจ และพฤติกรรมคิดเป็นร้อยละ 2.6 (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2557) ยิ่งไปกว่านั้นผู้สูงอายุจังหวัดชายแดนใต้ยังต้องประสบกับเหตุการณ์ความไม่สงบต่าง ๆ และอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งทำให้ภาวะสุขภาพ และคุณภาพชีวิตมีความแตกต่างกับผู้สูงอายุพื้นที่อื่น (จีราพร, ดาราวรรณ และฉันทนา, 2555)
ด้วยความตระหนักในปัญหา และแนวทางเพื่อพัฒนาสุขภาวะทางจิตแก่ผู้สูงอายุดังกล่าว กลุ่มงานพัฒนา นักศึกษา และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลาจึงจัดโครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมืองเทศบาลนครยะลา ซึ่งผลของการจัดโครงการดังกล่าว จะเป็นแนวทางสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นเรื่องที่ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน กำลังให้ความสำคัญ เป็นประโยชน์สำหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีคุณค่าให้มีสุขภาวะทางจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง
  3. 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการและ กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้จัดโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์ กิจกรรม และกำหนดการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในชุมชน จำนวน 30 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการการให้ความรู้ เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ให้แก่ ผู้สูงอายุในชุมชนเขตเมือง สมาชิกศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครยะลา จำนวน 2 ศูนย์ๆ ละ 1 วันๆ ละ 150 คน รวม 300 คน
  3. กิจกรรมที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาวะทางจิต สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง ( จากการคัดกรองประเมินสุขภาวะทางจิต) ซึ่งเป็นสมาชิกศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครยะลา จำนวน 2 ศูนย์ ศูนย์ละ 30 คน รวม 60 คน โดยดำเนินกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ณ ศูน
  4. กิจกรรมที่ 4 การจัดนิทรรศการ และประชาสัมพันธ์การสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตในชุมชนเมือง ณ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครยะลา และพื้นที่ที่เกี่ยวข้องภายในเขตชุมชนเมืองเทศบาลนครยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 900
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการเกิดปัญหาสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่
    1. การพัฒนา และสร้างองค์ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพจิตการพัฒนาการขับเคลื่อนนโยบาย และเห็นความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อการปรับเปลี่ยน และพัฒนาการดูแลสุขภาพจิตสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่
    2. สร้างเสริมการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน และภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ ส่งผลให้เกิดเจตคติที่ดีในการดูแลผู้รับบริการด้านสุขภาพสำหรับผู้รับบริการผู้สูงอายุในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุอย่างน้อยร้อยละ 80 ที่เข้าร่วมโครงการมีค่าคะแนนความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตเพิ่มขึ้น
80.00

 

2 2. เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 80 ได้รับการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิต
80.00

 

3 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
ตัวชี้วัด : 3. ผู้สูงอายุอย่างน้อยร้อยละ 80 ที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในระดับมาก (มากกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 900
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 900
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง (3) 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการและ กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้จัดโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง  และประชาสัมพันธ์ กิจกรรม และกำหนดการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในชุมชน จำนวน 30 คน (2) กิจกรรมที่ 2  การอบรมเชิงปฏิบัติการการให้ความรู้  เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ให้แก่ ผู้สูงอายุในชุมชนเขตเมือง สมาชิกศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครยะลา จำนวน 2 ศูนย์ๆ ละ 1 วันๆ ละ 150 คน รวม 300 คน (3) กิจกรรมที่ 3 การสร้างเสริมสุขภาวะทางจิต สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง ( จากการคัดกรองประเมินสุขภาวะทางจิต) ซึ่งเป็นสมาชิกศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครยะลา จำนวน 2 ศูนย์ ศูนย์ละ 30 คน รวม 60 คน โดยดำเนินกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ณ ศูน (4) กิจกรรมที่ 4 การจัดนิทรรศการ และประชาสัมพันธ์การสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตในชุมชนเมือง ณ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครยะลา และพื้นที่ที่เกี่ยวข้องภายในเขตชุมชนเมืองเทศบาลนครยะลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตสำหรับผู้สูงอายุ ในพื้นที่ชุมชนเมือง เทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 - 21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุบลทิพย์ ไชยแสง หัวหน้าโครงการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด