กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะแอ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 59-L4127-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆซึ่งจากการสำรวจพัฒนาการในเด็กไทยพบว่า เด็กแรกเกิด – 6 ปี มีพัฒนาการล่าช้ากว่าร้อยละ 30 หรือประมาณ 4 ล้านคน จากการดำเนินงานโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปีพบว่าผู้ปกครองที่รับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทุพโภชนาการ การบริโภคอาหารและการปรุงอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการเพื่อให้ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนน่ารับประทาน โดยมีการสาธิตอาหารให้แก่เด็กที่มีทุพภาวะโภชาการทำให้ผู้ปกครองที่เข้ารับการอบรมมีความสนใจ จะนำความรู้ที่ได้รับนำไปปฏิบัติ และให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการแก้ปัญหาทุพโภชนาการในพื้นที่ และตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา ที่จะเกิดกับเด็กทั้งด้านพัฒนาการ อารมณ์และสติปัญญาในอนาคต


ได้จัดตั้งทีมอาสาโภชนาการและมีการประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับอาสาโภชนาการเป็นภาคของตำบล ส่งอาสาโภชนาเข้าอบรมตามโครงการพระราชดำริแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือนให้ทีมอาสาโภชนาการออกไปสำรวจข้อมูลเด็กที่อยู่จริงในพื้นที่พร้อมทั้งชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เก็บข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในตำบล พร้อมให้ความรู้และทั้งแปรข้อมูลโภชนาการให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กรับทราบถึงปัญหาเกี่ยวกับเด็กขาดสารอาหาร โดยการเทียบกับสมุดสีชมพู และให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางโภชนาการและทางเจ้าหน้าที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลอีกครั้งหนึ่งจากอาสาโภชนาการโดยนำข้อมูลเด็กทั้งหมดที่ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงมาคีย์ข้อมูลเข้าโปรแกรม JHCIS โปรแกรมจะทำการรวบรวมข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง เพื่อประมวลข้อมูลภาวะโภชนาการของเด็กว่า เด็กอยู่ในเกณฑ์ใดพร้อมแจ้งให้อาสาโภชนาการทราบและติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการบกพร่อง แล้วคืนข้อมูลที่ได้กลับสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ผู้นำในท้องถิ่นเล็งเห็นความสำคัญของปัญหา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด -6 ปี
  2. 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
  3. 3. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  4. 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี
  5. 5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ให้เด็กแรกเกิด - 6 ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ90
    2. ให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 80
    3. ให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม คิดเป็นร้อยละ 85
    4. เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
    5. ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผลการดำเนินงาน ด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ มีความประสงค์จะจัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี ในปีงบประมาณ 2559 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาเจาะเป็นเงิน 37,200 บาท (เงินสามหมื่นเจ็ดพันสองร้อยบาทถ้วน)  โดยมีรายละเอียดโครงการดังนี้ ส่วนที่ 1 : รายละเอียดโครงการ หลักการและเหตุผล เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 6ปีซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมเด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ซึ่งจากการสำรวจพัฒนาการในเด็กไทยพบว่า เด็กแรกเกิด – 6ปีมีพัฒนาการล่าช้ากว่าร้อยละ 30 หรือประมาณ 4 ล้านคน จากการดำเนินงานโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี  พบว่าผู้ปกครองที่รับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทุพโภชนาการ การบริโภคอาหารและการปรุงอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการเพื่อให้ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนน่ารับประทาน โดยมีการสาธิตอาหารให้แก่เด็กที่มีทุพภาวะโภชาการทำให้ผู้ปกครองที่เข้ารับการอบรมมีความสนใจ จะนำความรู้ที่ได้รับนำไปปฏิบัติ และให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการแก้ปัญหาทุพโภชนาการในพื้นที่ และตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา ที่จะเกิดกับเด็กทั้งด้านพัฒนาการ อารมณ์และสติปัญญาในอนาคต


    ได้จัดตั้งทีมอาสาโภชนาการและมีการประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับอาสาโภชนาการเป็นภาคของตำบล ส่งอาสาโภชนาเข้าอบรมตามโครงการพระราชดำริแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน  ให้ทีมอาสาโภชนาการออกไปสำรวจข้อมูลเด็กที่อยู่จริงในพื้นที่พร้อมทั้งชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เก็บข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในตำบลพร้อมให้ความรู้และทั้งแปรข้อมูลโภชนาการให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กรับทราบถึงปัญหาเกี่ยวกับเด็กขาดสารอาหาร โดยการเทียบกับสมุดสีชมพู และให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางโภชนาการและทางเจ้าหน้าที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลอีกครั้งหนึ่งจากอาสาโภชนาการโดยนำข้อมูลเด็กทั้งหมดที่ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงมาคีย์ข้อมูลเข้าโปรแกรม JHCIS โปรแกรมจะทำการรวบรวมข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง เพื่อประมวลข้อมูลภาวะโภชนาการของเด็กว่า เด็กอยู่ในเกณฑ์ใดพร้อมแจ้งให้อาสาโภชนาการทราบและติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการบกพร่อง แล้วคืนข้อมูลที่ได้กลับสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ผู้นำในท้องถิ่นเล็งเห็นความสำคัญของปัญหา รายละเอียดผลการดำเนินงานของโครงการตามแผนงานโดยสรุป 1.เด็ก 0-5 ปีได้รับการชั่งน้ำหนัก มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์(น้ำหนัก/อายุ)           เด็ก 0-5 ปีทั้งหมด 892คน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์  758คนคิดเป็นร้อยละ 84.97และมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ 119คน คิดเป็นร้อยละ 13.34(เกณฑ์น้ำหนัก/อายุ) ซึ่งจะมีการชั่งน้ำหนักทุก 3 เดือน ส่วนเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์จะมีการเฝ้าระวังติดตามชั่งน้ำหนักทุก 1 เดือน พร้อมให้สุขศึกษาและอาหารเสริมแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายดังนั้นทางรพ.สต.บาเจาะ ยังเล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงของดำเนินการทำโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง 2.เด็ก 0-5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการ มีพัฒนาการตามปกติ/ล่าช้า           เด็ก 0-5 ปีทั้งหมดที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ 892คน มีพัฒนาการปกติ  876คนคิดเป็นร้อยละ 98.21และมีพัฒนาการล่าช้า 16คน คิดเป็นร้อยละ 1.79 และที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 1.79 สงสัยออทิสติกจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.22  ซึ่งใช้แบบคัดกรองDHPM ในการคัดกรองตามเกณฑ์อายุ พร้อมให้สุขศึกษาและอาหารเสริมแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายดังนั้นทางรพ.สต.บาเจาะ ยังเล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงของดำเนินการทำโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง

    2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชีวัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์
    2.1.1 เด็ก 0-5 ปีมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ร้อยละ 84.97 ซึ่งต่ำกว่าตัวชี้วัดตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม.....................100.............คน

    3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.................. 37,200...............บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง............................ 37,200..............บาท งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน.................... 0.....................บาท


    4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน                     มี                 4.1ผู้ดูแลเด็กเป็นผู้สูงอายุ ทำให้ขาดความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร 4.2 ผู้ดูแลเด็กไม่ตระหนักถึงภาวะโภชนาการของเด็กไม่ดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ 4.3ผู้ดูแลเด็กต้องออกไปทำงานนอกพื้นที่ 4.4การติดตามเยี่ยมชั่งหนักเด็กในแต่ละครั้งจะไม่ค่อยพบเด็กเนื่องจากผู้ปกครองอยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง
                    4.5 เมื่อมีการจัดอบรมให้ความรู้ส่วนใหญ่จะเป็นมารดาหรือยายที่มาเข้าอบรมคนเดียว

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด -6 ปี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 6 ปี

     

    2 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมที่ดียิ่งขึ้น

     

    3 3. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

     

    4 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี เพิ่มมากยิ่งขึ้น

     

    5 5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็ก ได้เสริมสร้างความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด -6 ปี (2) 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม (3) 3. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก (4) 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 6 ปี (5) 5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด -6 ปี จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 59-L4127-1-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสันต์เดะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด