กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ


“ สาวอรวมพลังเยาวชน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด ”

บ้านสาวอฮูลู ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
1.นายอับดุลรอเซะ ปะเต๊ะ 2.นายมะซากี หะมะรอแมโน 3.นางซากีนา สิโล้ะ

ชื่อโครงการ สาวอรวมพลังเยาวชน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด

ที่อยู่ บ้านสาวอฮูลู ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2516-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"สาวอรวมพลังเยาวชน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านสาวอฮูลู ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สาวอรวมพลังเยาวชน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " สาวอรวมพลังเยาวชน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านสาวอฮูลู ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2516-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหายาเสพติดประเทศไทยเริ่มมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยหากพิจารณากลุ่มประชากรที่มีความสำคัญหรือเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดเป็นอย่างสูง พบได้ว่า กลุ่มเยาวชนเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงหรือมีโอกาสสูงในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ซึ่งหากพิจารณาข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัดตามระบบรายงานระบบติดตามและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.) พบว่า เยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มที่เข้ารับการบำบัดรักษาเป็นจำนวนมาก โดยเข้ารับการบำบัดถึงร้อยละ 50.13 51.35 และ 52.04 ของประชากรที่เข้ารับการบำบัดทั้งหมดตามลำดับ ดังนั้น การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจึงควรมุ่งเน้นที่เยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญแนวนโยบายและกรอบยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ผ่านมา จึงได้กำหนดการป้องกันและแก้ไขปัญหาเยาวชนเป็นหนึ่งในกลุ่มเป้าหมายหลักของการดำเนินงาน โดยมีมาตรการป้องกันกลุ่มเสี่ยงมิให้มีโอกาสเกี่ยวข้องกับยาเสพติด (Potential Demand) เป็นแนวทางหลักในการกำหนดยุทธศาสตร์ จัดทำแผนปฏิบัติการและการดำเนินงานก็ได้กำหนดให้เยาวชนเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนา เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติดและปัจจัยยั่วยุต่างๆเป็นต้น ฉะนั้น การป้องกันในกลุ่มเยาวชนเพื่อมิให้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดจึงเป็นเจตจำนงและแนวนโยบายที่สำคัญของภาครัฐและองค์กรในภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
อย่างไรก็ตาม เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มประชากรที่มีขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 37.1 ของประชากรทั้งหมด รวมถึงมีลักษณะหลากหลาย ทั้งเยาวชนที่อยู่กับครอบครัว เยาวชนที่ครอบครัวแตกแยกหรือมีเหตุจำเป็นทำให้ไม่ได้อยู่กับครอบครัว เยาวชนในสถานศึกษา เยาวชนนอกสถานศึกษาเยาวชนแกนนำ เยาวชนด้อยโอกาส เยาวชนที่มีความสามารถด้านการเรียน มีความสามารถด้านกีฬา ด้านดนตรี หรือเยาวชนที่อาจยังหาความสามารถของตนเองไม่พบฯลฯ ซึ่งเยาวชนแต่ละกลุ่มแต่ละลักษณะจะมีโอกาสในความเสี่ยงที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดแตกต่างกัน
กลุ่มเยาวชนที่มีโอกาส/ความเป็นไปได้ในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติด 5 อันดับแรก ได้แก่ กลุ่มที่มีทัศนคติที่ผิดเกี่ยวกับยาเสพติดกลุ่มที่มีวัฒนธรรม/วิถีชีวิตยอมรับการใช้ยาเสพติด กลุ่มที่ใช้ชีวิต/เวลาในทางที่ไม่ควรอาทิ หนีเรียน มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่เหมาะสม ติดเกม เสพสื่อลามก กลุ่มที่มีความเอนเอียงต่อพฤติกรรมแข่งรถซิ่ง และกลุ่มที่มีปัญหาครอบครัวดังนั้น การดำเนินงานป้องกันยาเสพติดในกลุ่มเยาวชน ซึ่งมีปัจจัยจำกัดเชิงบริหารต่างๆ เช่น ปัจจัยจำกัดด้านทรัพยากร เวลาและองค์ความรู้ จึงจำเป็นต้องเลือกกลุ่มเยาวชนที่มีความเสี่ยง/โอกาสสูงในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดเป็นลำดับความสำคัญแรกในการดำเนินงาน เพื่อให้การป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนสามารถดำเนินการได้อย่างตรงจุด ตรงประเด็น และตรงต่อสภาพปัญหามากที่สุด อันจะทำให้การป้องกันปัญหายาเสพติดสามารถบังเกิดผลหรือสามารถลดผู้ที่จะเข้าประตูสู่ปัญหายาเสพติดได้อย่างแท้จริง
ลักษณะเยาวชนโดยรวมสามารถจำแนกออกได้หลากหลายลักษณะตามแต่มุมมองในด้านต่างๆ สำหรับกรอบความคิดเพื่อการดำเนินงานป้องกันปัญหายาเสพติดในปัจจุบัน ได้แบ่งเยาวชนตามลักษณะทางพฤติกรรมออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ เยาวชนกลุ่มทั่วไป กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสพ/ติด โดยเยาวชนแต่ละกลุ่มมีลักษณะดังต่อไปนี้
(1) เยาวชนกลุ่มทั่วไป คือ เยาวชนทั่วไปที่มีพฤติกรรมตามปกติในบรรทัดฐานทางสังคมและมีภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติดในระดับที่มากกว่าเยาวชนกลุ่มอื่นโดยเปรียบเทียบ
(2) เยาวชนกลุ่มเสี่ยง คือ กลุ่มเยาวชนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนหรือมีโอกาส/แนวโน้มสูงที่จะใช้ยาเสพติด หรืออาจรวมถึงเยาวชนที่เสพยาเสพติดหรือเคยทดลองใช้บ้างแล้วแต่ยังไม่ถึงขั้นเป็นผู้ติด
(3) เยาวชนกลุ่มเสพ/ติด คือ กลุ่มเยาวชนที่เสพ/ติดยาเสพติดเป็นประจำซึ่งจำเป็นต้องเข้ารับการบำบัดรักษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
  2. เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
  4. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
  5. เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
  6. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงานอาสาสมัครดาหลา บ้านสาวอฮูลู ในการขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  2. พัฒนาศักยภาพเยาวชนตำบลสาวอเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนตามหลักศาสนาและหลักสันติวิธี
  3. สร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิด เยาวชนดาหลา ทำความดีด้วยหัวใจ
  4. กิจกรรม มัสยิดนำร่อง ตาดีกาต้นแบบ ปลอดบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กรรมการมัสยิด โต๊ะหม่าม 15

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องอันตรายของสารเสพติด
  2. เยาวชนมีกิจกรรมยามว่างเพื่อลดละเลิกสารเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)
50.00 25.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
50.00 25.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
10.00 30.00

 

4 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)
80.00 60.00

 

5 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
ตัวชี้วัด : อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)
90.00 60.00

 

6 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ
ตัวชี้วัด : จำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนมาตรการ)
0.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 115
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กรรมการมัสยิด โต๊ะหม่าม 15

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน (4) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ (5) เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน (6) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงานอาสาสมัครดาหลา บ้านสาวอฮูลู ในการขับเคลื่อนงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) พัฒนาศักยภาพเยาวชนตำบลสาวอเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนตามหลักศาสนาและหลักสันติวิธี (3) สร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิด เยาวชนดาหลา ทำความดีด้วยหัวใจ (4) กิจกรรม มัสยิดนำร่อง ตาดีกาต้นแบบ ปลอดบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สาวอรวมพลังเยาวชน ป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2516-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายอับดุลรอเซะ ปะเต๊ะ 2.นายมะซากี หะมะรอแมโน 3.นางซากีนา สิโล้ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด