กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ เฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางรีนา โต๊ะเจ๊ะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1




ชื่อโครงการ โครงการ เฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,095.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญคือปัญหาผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง นับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งโรคเรื้อรังดังกล่าว โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง และ โรคเบาหวานก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ มีการประมาณการทางสถิติว่า ทั่วโลกมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานประมาณ 125 ล้านคน และมีอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยทุกปี และในการศึกษาสถานการณ์และธรรมชาติวิทยาของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากร พบว่าภาพรวมของประเทศ พบประชากรไทยมีแนวโน้มการตายและป่วยจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้นใน 13 ปีขึ้นไป มากกว่าหนึ่งล้านเก้าแสนคน และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของความชุกและจำนวนผู้เป็นเบาหวานสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังพบว่า เมื่ออายุสูงขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้ง่าย เมื่อเป็นโรคเบาหวานระยะเวลาหนึ่งแล้วจะเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต หัวใจ ระบบประสาท แผลเรื้อรัง เป็นต้น
จากการสำรวจข้อมูล ประจำปี 2562 โดยการสำรวจข้อมูลของแกนนำ อสม.ตำบลบ้านควน พบว่า ประชากร หมู่ที่ 2,3,5,6 และ 7 ตำบลบานควน ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจำนวน 526 คน รับบริการที่ รพ.สต.ตำบลบ้านควน จำนวน 280 คน ซึ่งกลุ่มป่วยที่รับบริการที่ รพ.สต.ตำบลบ้านควนทุกคน จะต้องได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ และต้องได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้เนื่องจากปัญหาที่พบจากการให้บริการ พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ป่วยยังคงให้ความสำคัญในการดูแล เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพตนเองน้อย ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดได้
ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการบริการ ติดตาม เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลรักษา ติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง รพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงจัดให้บริการคลินิกโรคเรื้อรัง ทุกวันพฤหัสที่ 2 และ 4 ของทุกเดือน โดยทีมสหวิชาชีพ มีแพทย์ เภสัชกร พยาบาล เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และแกนนำ อสม.คลินิกโรคเรื้อรัง ให้บริการช่วยเหลือในคลินิกดังกล่าว และจัดบริการตรวจคัดกรองค้นหาภาวะแทรกซ้อนประจำปี ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังขึ้น เพื่อติดตาม ดูแล รักษา ส่งเสริม เฝ้าระวังป้องกัน ร่วมกันกับผู้รับบริการ อย่างต่อเนื่องมุ่งเน้นการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาภายหลัง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจสามารถติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของตนเองได้อย่างมีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองภาวะไตวายเรื้อรัง
  2. การรับบริการตามวันนัดครั้งต่อไป
  3. สรุปผลการดำเนินงาน
  4. ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มป่วยติดเตียงและกลุ่มที่มีปัญหาติดตามต่อเนื่องที่บ้าน
  5. ประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพร้อม
  6. คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น (VA)
  7. กิจกรรมกลุ่ม Self health group

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 325
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ40 -ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50 -ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
-ตา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ไต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -เท้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ฟัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ซึมเศร้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น (VA)

วันที่ 15 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-อสม.ติดตามผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อให้เข้ารับการตรวจคัดกรองการมองเห็นเบื้องต้นโดย มีแกนนำ อสม.ที่ได้รับการฝึกปฏิบัติ ตรวจคัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น (VA) ออกตรวจคัดกรองเบื้องต้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจค้นหาภาวะเบาหวานขึ้นตา โดยทีมสหวิชาชีพ จาก รพ.สตูล ต่อไป
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 100 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแกนนำ อสม.จำนวน 8 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 400บาท
-ค่าอาหารกลางวันแกนนำ อสม.จำนวน 8 คนๆละ 75 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,200บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจVA 100คน

 

108 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
40.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตได้ดี
50.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 325
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 325
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองภาวะไตวายเรื้อรัง (2) การรับบริการตามวันนัดครั้งต่อไป (3) สรุปผลการดำเนินงาน (4) ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มป่วยติดเตียงและกลุ่มที่มีปัญหาติดตามต่อเนื่องที่บ้าน (5) ประชุมชี้แจงเพื่อเตรียมความพร้อม (6) คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น (VA) (7) กิจกรรมกลุ่ม Self health group

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรีนา โต๊ะเจ๊ะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด