กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐ ”

หมู่ที่ 1- 9 พื้นที่ตำบล อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลป่าบอน

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ หมู่ที่ 1- 9 พื้นที่ตำบล อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3341-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1- 9 พื้นที่ตำบล อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1- 9 พื้นที่ตำบล อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3341-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 ตุลาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 149,979.60 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพระดับประเทศ ในปี ๒๕๕๙และจากการสำรวจในแต่ละรอบปีที่ผ่านมาของอำเภอป่าบอน พบว่าแม้จะมีการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและให้บริการด้านทันตกรรมแก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง แต่สภาวะฟันผุของกลุ่มเด็กอายุ ๑๒ ปีจากการสำรวจที่แม้จะต่ำกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศแต่ก็ยังคงค่อนข้างคงที่ ไม่มีแนวโน้มลดลงอย่างไรก็ตามแนวโน้มฟันผุในเด็กอายุ ๓ ปีกลับมีแนวโน้มดีขึ้นตามลำดับ แต่ยังคงมีเด็กเล็กมากกว่าร้อยละ ๕๐ ที่มีฟันผุกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาการสูญเสียฟันอย่างชัดเจนอัตราการสูญเสียฟันนี้จะเกิดขึ้นตลอดช่วงชีวิตจนถึงผู้สูงอายุซึ่งการสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า๑๐ซี่/คน อาจกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการบดเคี้ยวอาหารดัชนี้ที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างชัดเจนคือ การปราศจากฟันทั้งปากนั้นพบสูงถึงร้อยละ ๒๙.๕ และแม้ในภาพรวมการคงอยู่ของฟันจะเพิ่มมากขึ้นในทุกกลุ่มอายุ แต่ผลการสำรวจทุกครั้งยังคงชี้ให้เห็นว่า โรคฟันผุในฟันน้ำนมยังอยู่ในระดับที่น่าเป็นห่วงมีเด็กจำนวนมากที่มีฟันผุตั้งแต่อายุเพียง๓ ขวบเท่านั้น และอัตราการเกิดฟันผุยังมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วระหว่างช่วงอายุ๓-๕ปี พบว่า ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุดมีค่ามากกว่า ๓ ซี่/คน ขึ้นไป ในเด็กอายุ ๓ ปี และสูงขึ้นเป็น ๕-๖ ซี่/คนในเด็กอายุ ๕-๖ ปี ถึงแม้รัฐจะจัดบริการทันตกรรมในสถานบริการ ตั้งแต่ระดับสถานีอนามัยโรงพยาบาลชุมชน ไปจนกระทั่งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแต่การเข้าถึงบริการด้านทันตกรรมในภาครัฐยังคงน้อย ประชาชนไปใช้บริการทันตกรรมและได้รับการบริการในสถานบริการของรัฐในเขตอำเภอป่าบอนเพียงร้อยละ ๒๗.๓๖ ในขณะที่ผู้ให้บริการด้านทันตกรรมยังคงมีไม่เพียงพอต่อการให้บริการ แม้มีบางพื้นที่ที่ลงปฏิบัติงานในระดับสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน แต่ก็เป็นเพียงส่วนน้อย ทำให้ผลลัพธ์ของงานด้านทันตกรรม ในภาพรวมต่ำ จากที่กล่าวมาข้างต้น จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการกำหนดมาตรการที่จำเป็นต่อการควบคุมสภาวะความชุกของโรคในช่องปากตั้งแต่เยาว์วัยและคงสภาพการใช้งานของฟันและเหงือกให้อยู่ในสภาวะที่ดี เพื่อลดการสูญเสียฟันในวัยทำงานและปราศจากฟันในวัยสูงอายุ อันจะส่งผลถึงปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร และคุณภาพชีวิต ดังนั้น เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงบริการทันตกรรมและควบคุมสถานการณ์การเกิดโรคฟันผุในช่องปากระยะยาว จึงมีความจำเป็นที่ต้องเร่งการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันในทุกกลุ่มอายุ ให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และให้การรักษาในกลุ่ม เป้าหมายหลัก ( กลุ่มหญิงมีครรภ์, กลุ่มเด็กปฐมวัย, กลุ่มนักเรียนประถมศึกษาและกลุ่มผู้สูงอายุ) รวมถึงการพัฒนาระบบบริการด้านทันตกรรมเพื่อให้สามารถได้รับบริการทันตกรรมได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  2. ควบคุมสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กประถมศึกษาโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรค และรักษาทางทันตกรรม ( comprehensivecare )

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 428
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,127
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 1,003
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 712
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายหลักมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการมีสุขภาพช่องปากที่ดี มีการส่งเสริมให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างแท้จริง
    2.มีการส่งเสริมให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างแท้จริง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มหญิงตั้งครรภ์

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดูแลสุขภาพปากของลูกตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 40 คน

     

    40 40

    2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กปฐมศึกษา

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ป.1-6 และให้ฝึกแปรงฟัน

     

    1,286 1,286

    3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กปฐมวัย

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชและสนับสนุนจูงใจในการทาฟลูออไรด์วานิช (แปรงสีฟัน)จำนวน 220 คน

     

    146 146

    4. .กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเยาวชน

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สอนการแปรงฟันและให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟันในโรงเรียนมัธยมศึกษาและนักเรียน ม. ต้น

     

    841 841

    5. .กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชและสนับสนุนจูงใจในการทาฟลูออไรด์วานิช (แปรงสีฟัน) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอยู่ในตำบลทุ่งนารี

     

    428 428

    6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้ป่วยคลินิกโรคเรื้อรัง(DM/HT)

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในรายที่จำเป็น ในคลินิคเรื้อรัง

     

    712 712

    7. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้สูงอายุ

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้คำปรึกษาด้านการดุแลทันตกรรมสุขภาพในรายที่จำเป็นในผู้สูงอายุ

     

    1,003 1,003

    8. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้พิการ

    วันที่ 30 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สอนแปรงฟัน สนับสนุน แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ให้คำปรึกษาด้านการดุแลทันตสุขภาพในผู้ป่วยติดเตียง

     

    40 40

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน 1.1 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มหญิงตั้งครรภ์       กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลป่าบอนได้ออกบริการ  ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขศึกษาเยี่ยมหลังคลอดและแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกตรวจสุขภาพช่องปาก  จำนวน 40 คน 1.2  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กปฐมวัย
          กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครอง ฝึกแปรงฟัน ปฏิบัติบัติจริงในการฝึกทักษะการดูแลทำความสะอาดเหงือกในเด็กที่ฟันยังไม่ขึ้น ที่คลีนิกเด็กดี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร และรพ.สต.บ้านป่าบาก จำนวน 146 คน และให้บริการทาฟลูออไรด์วานิช ให้สิ่งสนับสนุนจูงใจในการทาฟูออไรด์วานิช (แปรงสีฟัน) จำนวน 220 คน
      1.3  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษาฝึกแปรงฟัน  ให้บริการทาฟูออไรด์วานิชและให้สิ่งสนับสนุนจูงใจในการทาฟูออไรด์วานิช (แปรงสีฟัน) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่อยู่ในเขตตำบลทุ่งนารี จำนวน 428 คน 1.4  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเด็กปฐมศึกษา     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ป.1-6 ให้ทันตสุขศึกษา  ฝึกแปรงฟัน ในโรงเรียนประถมศึกษาเขตตำบลทุ่งนารี  จำนวน 1,286 คน 1.5  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มเยาวชน     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน และให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟันในโรงเรียนมัธยมศึกษา และนักเรียน ม.ต้นโรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 841 คน
      1.6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้ป่วยคลินิคโรคเรื้อรัง     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพ  ให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน และให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟัน และให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในรายที่จำเป็น ในคลินิคโรคเรื้อรังรพ.สต.บ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านป่าบาก รพ.สต.บ้านโหล๊ะหาร  จำนวน 712 คน 1.7  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้สูงอายุ     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน ได้ออกตรวจให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน และให้แปรงสีฟัน-ยาสีฟัน และให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในรายที่จำเป็นในผู้สูงอายุในหมู่บ้านที่อยู่ในเขตตำบลทุ่งนารี จำนวน 1003 คน 1.8  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มผู้พิการ     กลุ่มงานทัตกรรม โรงพยาบาลป่าบอน  ได้ออกบริการออกเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหวิชาชีพ  ตรวจสุขภาพช่องปาก  ให้ทันตสุขศึกษา สอนแปลงฟัน สนับสนุนแปรงสีฟัน-ยาสีฟัน และให้คำปรึกษาด้านการดูแลทันตสุขภาพในผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ในเขตตำบลทุ่งนารี จำนวน 40 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ ANC ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์ ร้อยละ๘๕

     

    2 ควบคุมสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กประถมศึกษาโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรค และรักษาทางทันตกรรม ( comprehensivecare )
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๘๐ของเด็ก ๙ – ๑๒ เดือนและ ๑๘ – ๒๔ เดือน ได้รับการดูแลด้านทันตสุขภาพโดยผู้ดูแลหลัก 2.ร้อยละ ๘๐ ของเด็ก ๓ – ๕ ปี ได้รับการส่งเสริมดูแลด้านทันตสุขภาพโดยผู้ดูแลเด็กและชุมชน 3.ร้อยละ ๙๐ ของเด็กนักเรียนชั้น ป.๑ – ๖ ได้รับการตรวจและบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4350
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 428
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,127
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 1,003
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 712
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (2) ควบคุมสภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กประถมศึกษาโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรค และรักษาทางทันตกรรม
    ( comprehensivecare )

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลักในเขตตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕๖๐ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3341-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลป่าบอน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด